dc.contributor.author | ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา | th_TH |
dc.contributor.author | Chuenruthai Kanchanachitra | en_US |
dc.coverage.spatial | th | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-12-04T05:22:49Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-17T00:44:36Z | |
dc.date.available | 2008-12-04T05:22:49Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-17T00:44:36Z | |
dc.date.issued | 2544 | en_US |
dc.identifier.other | hs0841 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/1875 | en_US |
dc.description.abstract | การดำเนินนโยบายด้านสุขภาพในประเทศไทยในปัจจุบันมักเผชิญกับปัญหาขาดการประสานงานระหว่างองค์กรต่างๆ เนื่องจากนโยบายยังคงกำหนดและปฏิบัติโดยกระทรวงสาธารณสุข การศึกษานี้ต้องการสังเคราะห์ทางเลือกในการออกนโยบาย กำหนดยุทธศาสตร์ และพัฒนาแผนสุขภาพแห่งชาติ วิธีการศึกษาใช้การทบทวนกระบวนการออกนโยบายสุขภาพจากต่างประเทศ และกระบวนการออกนโยบายด้านอื่นๆ ในประเทศไทย ร่วมกับการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้องกรอบแนวความคิดในการพัฒนากระบวนการออกนโยบายสุขภาพมีดังนี้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ที่กำหนดให้มีการสนับสนุนการเคลื่อนไหวของภาคประชาชนเพื่อกำหนดหรือเข้ามาเกี่ยวข้องในการออกนโยบาย กลไกที่พึงปรารถนาต้องนำไปสู่การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ธรรมาภิบาล ทำงานร่วมกันเป็นภาคและสนับสนุนซึ่งกันและกัน ตอบสนองด้านการเมือง และดำเนินการบนพื้นฐานของหลักวิชาการ ภารกิจที่ดีต้องกำหนดทิศทางนโยบายทั้งในระยะสั้นและระยะยาว กลไกทางเลือกทั้งสามถูกนำเสนอ กลไกแรกต้องการสนับสนุนการประสานการทำงานระหว่างภาครัฐ เอกชน ชุมชน และประชาชน อย่างไรก็ตามทางเลือกในรูปแบบนี้มีข้อด้อยที่มีกระบวนการหลายขั้นตอน กลไกทางเลือกที่สองเป็นการสนับสนุนการเคลื่อนไหวของกลุ่มในสังคม อย่างไรก็ดีมีคณะรัฐมนตรีที่เล่นบทบาทเป็นองค์กรควบคุมการทำงาน ซึ่งอาจทำให้ขาดการเป็นตัวแทนของกลุ่มต่างๆ ในการกำหนดนโยบาย แนวทางเลือกรูปแบบที่สามต้องการให้กระทรวงสาธารณสุขรับผิดชอบต่อสุขภาพประชาชน และกำหนดนโยบายสุขภาพ อย่างไรก็ดี วิธีนี้อาจจะขาดการประสานงานร่วมกับองค์กรอื่นๆ ที่เข้ามาเกี่ยวข้องโดยตรงและทางอ้อม | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.format.extent | 651928 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/octet-stream | en_US |
dc.language | tha | en_US |
dc.language.iso | en_US | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | การพัฒนาสุขภาพ | en_US |
dc.subject | นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ | en_US |
dc.subject | การพัฒนาประเทศ--ไทย | en_US |
dc.subject | ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) | th_TH |
dc.title | การสังเคราะห์องค์ความรู้เกี่ยวกับกลไกและกระบวนการกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพระดับประเทศ | th_TH |
dc.title.alternative | Systhesising knowledge of policy determination process and strategies for Developing National Health | en_US |
dc.description.abstractalternative | Lack of coordination for health policy implementation was concerned due to the fact that health policy had been largely determined and implemented by the Public Health Ministry. This study was aimed at synthesing alternatives to processing health policy, strategies and national health plan by reviewing health policy making process in other countries and development of other public policy in Thailand. Interviewing well-experienced people was also performed. Concepts for developing processes of national health policy determination were:firstly, the Thai Constitution in which civil involvement should be strengthened in policy making process, secondly, desirable mechanisms in which efficiency in administration, good governance, synergistic working, political accountability and evidence based implementation were created,thirdly, mission in which direction of national health policy (short to long term) was obvious,fourthly, three alternatives for processing health policy and determining health strategies were proposed. The first alternative was to promote coordination between public, private, community and people; nevertheless, bureaucratic implementation was likely to occur due to availability of many processes. The second alternative was to support civil society movement and to allow the cabinet to act as governing body. Even though flexibility to administration might be achieved, a number of societies were unlikely to be part in the policy making process. The third alternative was to let the mechanism under the Ministry of Public Health responsible for people health and determining national health policy. However, coordination with other organisations might be difficult to take place. | en_US |
dc.identifier.callno | WA540 ช591ก 2544 | en_US |
dc.identifier.contactno | 44ข041 | en_US |
.custom.citation | ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา and Chuenruthai Kanchanachitra. "การสังเคราะห์องค์ความรู้เกี่ยวกับกลไกและกระบวนการกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพระดับประเทศ." 2544. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1875">http://hdl.handle.net/11228/1875</a>. | |
.custom.total_download | 80 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 2 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 1 | |