dc.contributor.author | สุรฉัตร ง้อสุรเชษฐ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Surachat Ngosurachat | en_US |
dc.contributor.author | อรรถพล ศรเลิศล้ำวาณิช | th_TH |
dc.contributor.author | Antapol Sornloetlumwanit | en_US |
dc.coverage.spatial | th | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-12-04T05:22:50Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-17T00:47:23Z | |
dc.date.available | 2008-12-04T05:22:50Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-17T00:47:23Z | |
dc.date.issued | 2547 | en_US |
dc.identifier.other | hs1089 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/1878 | en_US |
dc.description | ตีพิมพ์ในวารสาร Health Care Manage Sci (2006) 9: 59-70 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะศึกษาลักษณะของโรงพยาบาลในประเทศไทยที่มีผลดำเนินการขาดทุนเปรียบเทียบกับโรงพยาบาลที่มีผลดำเนินการกำไร โดยวิเคราะห์จากข้อมูลของโรงพยาบาลทั่วประเทศที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุขจำนวน 640 โรงพยาบาล ซึ่งข้อมูลเหล่านี้เป็นข้อมูลที่เก็บรวบรวมเพื่อใช้ในการบริหารจัดการในปีงบประมาณ 2545 การศึกษานี้จะอาศัยการวิเคราะห์แบบ 2 ภาคส่วนในการศึกษาโอกาสที่โรงพยาบาลจะดำเนินการขาดทุนและจำนวนเงินที่ขาดทุนโดยใช้วิธีการวิเคราะห์ความถดถอยแบบ Logistic regression และ Ordinary least-squares regression ตามลำดับ ผลการวิจัยพบว่าตัวแปรหลายตัวในกลุ่มของการบริหารจัดการการบริการ และลักษณะของตลาดโรงพยาบาลมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญกับโอกาสที่โรงพยาบาลจะมีผลดำเนินการขาดทุน พบว่าการเพิ่มค่าเฉลี่ยของสัดส่วนระหว่างวันนอนของผู้ป่วยที่ใช้สิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้าต่อจำนวนผู้ป่วยที่ใช้สิทธินี้ทั้งหมดและความหนาแน่นของจำนวนโรงพยาบาลที่ตั้งใกล้เคียงกันจะทำให้โรงพยาบาลมีโอกาสสูงขึ้นที่จะมีผลดำเนินการขาดทุน ในขณะที่การเพิ่มค่าเฉลี่ยของสัดส่วนระหว่างจำนวนวันนอนของผู้ป่วยที่ใช้สิทธิรักษาพยาบาลของข้าราชการต่อจำนวนผู้ป่วยที่ใช้สิทธินี้จะลดโอกาสที่โรงพยาบาลจะมีผลดำเนินการขาดทุน ผลอันนี้เกิดขึ้นทำนองเดียวกันในผู้ป่วยที่ใช้สิทธิประกันสังคม ในส่วนของผลการศึกษาของอัตราส่วนจำนวนผู้ป่วยต่อจำนวนบุคลากรของโรงพยาบาลนั้นพบว่ามีความสัมพันธ์เชิงบวกกับโอกาสที่โรงพยาบาลที่มีผลดำเนินการขาดทุน ทั้งนี้จะต้องระมัดระวังในการแปลผลเนื่องจากมีผลของรายจ่ายในส่วนของเงินเดือนแฝงอยู่ในตัวแปรดังกล่าวเข้ามาเกี่ยวข้อง ซึ่งไม่ได้นำมาศึกษาในการวิจัยนี้ ส่วนจำนวนเงินที่ขาดทุนของโรงพยาบาลที่ดำเนินการขาดทุนนั้น นอกเหนือจากจะมีความสัมพันธ์กับตัวแปรในกลุ่มของการบริหารจัดการ การบริการและลักษณะของตลาดโรงพยาบาลแล้วยังมีความสัมพันธ์กับลักษณะของโรงพยาบาลด้วย พบว่าโรงพยาบาลที่มีขนาดใหญ่และโรงพยาบาลที่ตั้งอยู่ในเขตภาคกลางของประเทศไทยจะมีจำนวนเงินที่ขาดทุนสูงกว่าโรงพยาบาลที่ตั้งอยู่ในเขตอื่นๆ ผลการวิจัยพบว่าการบริหารจัดการในเรื่องของจำนวนบุคลากรของโรงพยาบาล การบริหารคลังยาและจำนวนวันที่ผู้ป่วยนอนโรงพยาบาลจะช่วยควบคุมจำนวนเงินที่ขาดทุนได้ โดยสรุปปัญหาหรือลักษณะของโรงพยาบาลส่วนใหญ่ที่มีความสัมพันธ์กับการขาดทุนของโรงพยาบาลจะสามารถอาศัยการบริหารจัดการมาช่วยปรับปรุงแก้ไขได้ การศึกษานี้จะช่วยให้ผู้ออกนโยบายเข้าใจสถานการณ์การขาดทุนของโรงพยาบาลในประเทศไทยหลังจากที่มีโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้า และช่วยเป็นข้อมูลในการวางนโยบายเพื่อแก้ปัญหาการขาดทุนของโรงพยาบาล | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.format.extent | 335121 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/octet-stream | en_US |
dc.language | tha | en_US |
dc.language.iso | en_US | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | Hospitals | en_US |
dc.subject | Hospitals, General | en_US |
dc.subject | Hospital Administration -- Thailand | en_US |
dc.subject | การบริหารสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | การบริหารโรงพยาบาล -- ไทย | en_US |
dc.subject | ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) | th_TH |
dc.title | การศึกษาลักษณะของโรงพยาบาลในประเทศไทยที่มีผลดำเนินการขาดทุนหรือกำไรหลักจากปีแรกของการมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า | th_TH |
dc.title.alternative | Characterization of non-profitable and profitable hospitals in Thailand: A year after universal coverage health insurance | en_US |
dc.title.alternative | Determinants of hospital loss in Thailand: experience from the first year of a universal coverage insurance program | en_US |
dc.description.abstractalternative | The objective of this study was to examine characteristics of non-profitable hospitals, as compared to profitable hospitals, in Thailand. Administration national data for 640 public hospitals of fiscal year 2002 from Ministry of Public Health were analyzed. A two-part model estimated by logistic regression and ordinary least-squares regression was used to examine the likelihood of hospital loss and the amount of loss, respectively. The results showed that various managerial, service mix, and market variables were significantly associated with the likelihood of hospital loss. An increase in average hospital Universal Coverage (UC) inpatient day per number of the UC and the concentration of hospital market could significantly increase the likelihood of hospital loss, while an increase in the average Civil Servant Medical Benefit Scheme (CSMBS) hospital inpatient day per number of the CSMBS inpatients and average Social Security Scheme (SSS) hospital inpatient day per number of the SSS inpatients decreased the likelihood of hospital loss. The ratio between total patients and number of full-time employee was positively associated with the likelihood of hospital loss, but it required cautious interpretation since it was confounded by the employee salaries that was not included in this study. Beside managerial, service mix, and market variables, the hospital characteristics also were associated with the amount of loss. The larger hospitals and hospitals located in central area of Thailand tended to have higher amount of loss. The results also suggested that managing the number of hospital employee, inventory, and patient hospitalization could control the amount of loss. In conclusion, most of identified determinants of hospital loss were manageable. The ramification of this study was to help policy makers understand the hospital loss situation in Thailand after implementing the UC scheme and design policy to resolve the hospital loss problems. | en_US |
dc.identifier.callno | WX157.JT3 ส847ก 2547 | en_US |
dc.identifier.contactno | 47ค010 | en_US |
dc.subject.keyword | Non-profitable hospitals | en_US |
dc.subject.keyword | Universal Health Coverage | en_US |
dc.subject.keyword | Health Insurance | en_US |
dc.subject.keyword | Hospital loss | en_US |
dc.subject.keyword | Hospital profitability | en_US |
dc.subject.keyword | Health care finance | en_US |
dc.subject.keyword | การขาดทุนโรงพยาบาล | en_US |
dc.subject.keyword | หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า | en_US |
dc.subject.keyword | การประกันสุขภาพ | en_US |
.custom.citation | สุรฉัตร ง้อสุรเชษฐ์, Surachat Ngosurachat, อรรถพล ศรเลิศล้ำวาณิช and Antapol Sornloetlumwanit. "การศึกษาลักษณะของโรงพยาบาลในประเทศไทยที่มีผลดำเนินการขาดทุนหรือกำไรหลักจากปีแรกของการมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า." 2547. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1878">http://hdl.handle.net/11228/1878</a>. | |
.custom.total_download | 64 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 2 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 1 | |