แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ประสบการณ์การปฏิรูปของประเทศเกาหลีใต้ในประเด็น: การคุ้มครองผู้บริโภค การประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ บุคลากรสุขภาพ : แพทย์พื้นบ้าน กรณีศึกษาปัญหาคอร์รัปชั้นและข้อเสนอสำหรับประเทศไทย

dc.contributor.authorสัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์en_US
dc.contributor.authorSamrit Srithamrongsawatsen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:23:04Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:47:47Z
dc.date.available2008-12-04T05:23:04Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:47:47Z
dc.date.issued2543en_US
dc.identifier.otherhs0736en-EN
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1906en_US
dc.description.abstractประสบการณ์การปฏิรูปของประเทศเกาหลีใต้ในประเด็น: การคุ้มครองผู้บริโภค การประเมินเทคโนโลยีสุขภาพ บุคลากรสุขภาพ:แพทย์พื้นบ้าน กรณีศึกษาปัญหาคอร์รัปชั่น และข้อเสนอสำหรับประเทศไทย การพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพที่กล่าวถึงในรายงานนี้เป็นการทบทวนวิวัฒนาการของแพทย์พื้นบ้านของเกาหลีใต้ที่เรียกว่า oriental medical doctor การทบทวนได้แสดงถึงความขัดแย้งระหว่างวิชาชีพโดยเฉพาะระหว่างแพทย์ OM (oriental medicine) กับแพทย์ปัจจุบันและเภสัชกร ปัญหาหลักของความขัดแย้งระหว่างกลุ่มอยู่ที่ความไม่ชัดเจนของบทบาทและหน้าที่ของวิชาชีพในแต่ละกลุ่ม และความพยายามของแต่ละกลุ่มวิชาชีพที่กล่าวเพื่อล็อบบีรัฐบาลดำเนินนโยบายที่เอื้อประโยชน์แก่กลุ่มกลุ่มตนให้มากที่สุด ฉะนั้นภาพการต่อรองอำนาจระหว่างกลุ่มส่วนใหญ่จะผ่านกระบวนการการเมืองมากกว่าการต่อรองและตกลงระหว่างกลุ่มอย่างตรงไปตรงมา การดำเนินโครงการการทำโครงการประเมินและติดตามผลจากการใช้ยาของประชาชนเป็นโครงการระยะยาวที่ทำต่อเนื่องซึ่งเป็นโครงการที่ดีสามารถปกป้องผู้บริโภคจากการใช้ยา โดยเฉพาะยาที่มีผลข้างเคียงไม่พึงประสงค์ที่อาจเกิดขึ้นเนื่องจากการใช้ยาเป็นระยะเวลานาน อย่างไรก็ดีจุดด้อยของการทำงานขององค์กร KFDA อยู่ที่โครงสร้างที่ยังไม่สามารถสร้างความโปร่งใสและการตรวจสอบได้จากประชาชน ทำให้มีแนวโน้มการเกิดคอร์รัปชั่นโดยผู้บริหารสูงของหน่วยงาน เนื่องจากการใช้ยาสมุนไพรเป็นทางเลือกหนึ่งได้รับความนิยมจากคนเกาหลีใต้ Ministry of Health and Welfare (MOHW) จึงพัฒนาให้มีหน่วยงานทำหน้าประเมินผลและติดตามการใช้ยาสมุนไพรของประชาชน ยาสมุนไพรหลายตัวได้รับการประเมินว่ามีความปลอดภัยและให้ผลในการรักษาได้จริงและยังได้รับการคุ้มครองเป็นสิทธิ์ประโยชน์พื้นฐานในระบบประกันสุขภาพของประเทศซึ่งเป็นการเพิ่มทางเลือกให้กับประชาชนและสามารถลดการนำเข้าตลอดจนเป็นการส่งเสริมการแพทย์พื้นบ้านของเกาหลีใต้ ระบบการประเมินเทคโนโลยีสุขภาพของเกาหลีใต้มีลักษณะของรูปแบบที่มีคล้ายคลึงกับประเทศที่พัฒนาแล้วหลายประเทศ ไม่ว่าตั้งแต่การจัดตั้งองค์กรหรือบอร์ดที่ไม่ได้อยู่ภายใต้การทำงานของ MOHW ตรงข้ามทำหน้าที่ให้ข้อเสนอเชิงนโยบาย และกระบวนการทำงานมีลักษณะเป็น multidispinary team ขณะเดียวกัน หน่วยงานรัฐ คือ Korean Food and Drug Administration (KFDA) ทำหน้าที่ประเมินและรับรองยา นอกจากนั้น Korean Oriental Medicine Institute ทำหน้าที่ประเมินเทคโนโลยีสุขภาพการแพทย์พื้นบ้านของเกาหลีใต้ อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบัติหากการประเมินเทคโนโลยีสุขภาพอยู่ภายใต้องค์เดียวกันที่ประเมินทั้งการแพทย์ปัจจุบันและการแพทย์ OM น่าจะทำให้การประเมินเชิงเปรียบเทียบของเทคโนโลยีทั้งสองสาขาให้ประโยชน์ต่อการตัดสินใจเชิงนโยบายได้ดีกว่าen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent637587 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Care Reform -- South Koreaen_US
dc.subjectHealth Systems reform -- South Koreaen_US
dc.subjectระบบเทคโนโลยีเพื่อสุขภาพen_US
dc.subjectการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพen_US
dc.subjectการปฏิรูประบบสุขภาพen_US
dc.subjectการพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพen_US
dc.subjectเกาหลีใต้en_US
dc.titleประสบการณ์การปฏิรูปของประเทศเกาหลีใต้ในประเด็น: การคุ้มครองผู้บริโภค การประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ บุคลากรสุขภาพ : แพทย์พื้นบ้าน กรณีศึกษาปัญหาคอร์รัปชั้นและข้อเสนอสำหรับประเทศไทยen_US
dc.title.alternative[Experience on Health Reform In South Korea in Following Topics : Consumer Protection, Health Technology Assessment, Health Personnel Development, Corruptions and Recommendations]en_US
dc.identifier.callnoWA540.JK6 ส616ร 2543en_US
dc.subject.keywordกำลังคนด้านสุขภาพen_US
dc.subject.keywordระบบเทคโนโลยีเพื่อสุขภาพen_US
.custom.citationสัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์ and Samrit Srithamrongsawats. "ประสบการณ์การปฏิรูปของประเทศเกาหลีใต้ในประเด็น: การคุ้มครองผู้บริโภค การประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ บุคลากรสุขภาพ : แพทย์พื้นบ้าน กรณีศึกษาปัญหาคอร์รัปชั้นและข้อเสนอสำหรับประเทศไทย." 2543. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1906">http://hdl.handle.net/11228/1906</a>.
.custom.total_download206
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year10
.custom.downloaded_fiscal_year2

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs0736.pdf
ขนาด: 537.9Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย