แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การกำหนดขอบเขตการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในกลุ่มเกษตรกรจากการใช้สารเคมีทางการเกษตรในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลำพูน

dc.contributor.authorทิพวรรณ ประภามณฑลth_TH
dc.contributor.authorThiphawan Phaphamonthonen_US
dc.contributor.authorพงศ์เทพ วิวรรธนะเดชth_TH
dc.contributor.authorอัมพิกา มังคละพฤกษ์th_TH
dc.contributor.authorสมศรี ปัทมพันธุ์th_TH
dc.contributor.authorอำนาจ มีเวทีth_TH
dc.contributor.authorPongtap Vivantanadejen_US
dc.contributor.authorAmphika Mangkalapriken_US
dc.contributor.authorSomsri Phatamaphanen_US
dc.contributor.authorAmnat Meevatteeen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:23:17Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:51:21Z
dc.date.available2008-12-04T05:23:17Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:51:21Z
dc.date.issued2547en_US
dc.identifier.otherhs1200en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1936en_US
dc.descriptionชื่อหน้าปก: รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์การกำหนดขอบเขตการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในกลุ่มเกษตรกรจากการใช้สารเคมีทางการเกษตรในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลำพูนth_TH
dc.description.abstractการกำหนดขอบเขตการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในกลุ่มเกษตรกรจากการใช้สารเคมีทางการเกษตรในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลำพูน มีวัตถุประสงค์เพื่อทำการวิจัยให้ได้ข้อมูลนำไปกำหนดขอบเขตการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในกลุ่มเกษตรกรที่ใช้สารเคมีทางการเกษตรในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลำพูน เพื่อสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียในนโยบายทางการเกษตรที่นำสารเคมีทางการเกษตรมาใช้ในการเพิ่มผลผลิต วิธีการศึกษาประกอบด้วย (1) การรวบรวมข้อมูลเบื้องต้นการใช้สารเคมีทางการเกษตรและปัญหาสุขภาพจากเกษตรกรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยการจัดประชุมสัมมนา (2) การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณจากเกษตรกรโดยใช้แบบสัมภาษณ์ (3) การเก็บข้อมูลบางประเด็นเพิ่มเติมโดยการทำสนทนากลุ่ม (4) การนำเสนอสรุปผลการวิจัยที่ได้เพื่อให้เกษตรกรและผู้ที่เกี่ยวข้องตรวจสอบความถูกต้องโดยการจัดประชุมสัมมนา ในการเก็บข้อมูลเบื้องต้นได้จัดการประชุมเกษตรกรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากการใช้สารเคมีทางการเกษตร จำนวน 2 ครั้ง โดยในครั้งที่ 1 เป็นการประชุมสัมมนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของกลุ่มเกษตรกรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากการทำสวนผักคะน้าและกะหล่ำปลี มีผู้เข้าร่วมประชุม 108 คนและครั้งที่ 2 มีผู้เข้าร่วมประชุม 61 คน ซึ่งการประชุมสัมมนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของกลุ่มเกษตรกรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากการทำสวนลำไย ในการประชุมสัมมนาแต่ละครั้งได้มีเจ้าหน้าที่ด้านสาธารณสุขและด้านการเกษตร ผู้บริโภค และพ่อค้าคนกลาง ในพื้นที่กลุ่มเป้าหมายมาร่วมให้ข้อมูลและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน จากนั้นทำการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณโดยการใช้แบบสัมภาษณ์เกษตรกรที่ทางโครงการฯ ได้พัฒนาขึ้นไปสัมภาษณ์เกษตรกรทำสวนผักคะน้าและกะหล่ำปลีในเขตจังหวัดเชียงใหม่จำนวน 116 คน และได้จัดประชุมสัมมนาเพื่อนำเสนอผลสรุปการกำหนดขอบเขตการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพจากการใช้สารเคมีทางการเกษตรที่ได้จากการวิจัยให้เกษตรกรและผู้เกี่ยวข้องจากจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลำพูนตรวจสอบความถูกต้อง จำนวน 1 ครั้ง มีผู้เข้าร่วมประชุมรวม 121 คน ผลการศึกษาพบว่าเกษตรกรส่วนมากใช้สารเคมีฯ ผสมกันหลายชนิด (cocktails) ไม่สามารถลดการใช้สารเคมีทางการเกษตรสังเคราะห์ชนิดต่างๆ ลงได้เพราะไม่มั่นใจว่าจะได้ผลผลิตตามต้องการสารเคมีทางการเกษตรที่มีการใช้มากที่สุดในการทำสวนผัก คือ ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยคอก เกษตรกรทำสวนลำไยมีการใช้ปุ๋ยเคมีมากเช่นเดียวกับกลุ่มเกษตรกรที่ทำสวนผักth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent4873193 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectHealth Public Policy and Health Impact Assessmenten_US
dc.subjectHealth Systemsen_US
dc.subjectHealth Policyen_US
dc.subjectPesticidesen_US
dc.subjectChiang Maien_US
dc.subjectLamphunen_US
dc.subjectนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพen_US
dc.subjectระบบสุขภาพของประชาชนกลุ่มต่างๆen_US
dc.subjectสารเคมีกำจัศัตรูพืชen_US
dc.subjectสารเคมีการเกษตรกรรมen_US
dc.subjectยากำจัดศัตรูพืชen_US
dc.subjectเชียงใหม่en_US
dc.subjectลำพูนen_US
dc.subjectปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH)th_TH
dc.titleการกำหนดขอบเขตการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในกลุ่มเกษตรกรจากการใช้สารเคมีทางการเกษตรในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลำพูนth_TH
dc.title.alternativeScoping for assessment of health impact among farmers from using agrochemicals in Chiang Mai and Lamphun provincesen_US
dc.description.abstractalternativeScoping for assessment of health impact among farmers from using agrochemicals in Chiang Mai and Lamphun provinces aim to 1. To identify scopes for assessment of health impact among farmers from using agrochemicals in Chiang Mai and Lamphun provinces. 2. To establish participatory process among stakeholders in agricultural policy of using agrochemicals to increase productionsMethods : Study methods included (1) gathering preliminary data on agrochemicals used and health problems from farmers and stakeholders from 2 seminars, (2) collecting quantitative data using interviewed questionnaires, (3) collecting some additional information from focus group discussion, (4) presenting the research summary to farmers and stakeholders for validation in the seminar. In the preliminary data collection, 2 seminars were held. First seminar was held in Chiang Mai City to gather data from cabbage and kale growing farmers and stakeholders including academia, consumers, government officers in public health and agriculture, traders in agricultural produces, 108 participants in total. The second seminar was held in Lamphun City to gather data from longan orchard farmers and stakeholders, 61 participants in total. Quantitative data were then collected by interviewing farmers using present study constructed- questionnaires. There were 33 kale and cabbage cultivation farmers from 5 districts of Chiang Mai Province including Saraphi, Mae Rim, Mae Cham, Doi Law, Chom Thong, and Mae Wang districts, and 26 farmers from 2 districts of Lamphun Province including Muang Lamphun and Ban Hong Districts. Furthermore, there were 28 longan orchard farmers from 3 districts of Chiang Mai Province including Saraphi, San Patong, and Hang Dong Districts, and 29 farmers from 4 districts of Lamphun province including Muang Lamphun, Pa Sang, Wiang Nonglong, and Ban Hong districts. There were 116 farmers in total including 59 farmers from kale and cabbage cultivation and 57 farmers from longan orchard. Some additional information was collected from 4 focus group discussions conducted in farmers growing cabbage (one group), kale (one group) and longan orchard (2 groups). The final seminar was held in Chiang Mai City in order to present the scope of health impact assessment among farmers using agrochemicals to farmers and stakeholders for validation. Of 121 participants, there were 70 farmers and 51 stakeholders attended the seminar.Results: Most farmers used mixed agrochemicals or cocktails in order to reduce time and labor cost. Both vegetable and longan farmers confirmed that they could not decreased using all kind of synthetic agrochemicals because they were not sure to obtain produces as targeted. The most use of agrochemicals in vegetable cultivation was chemical fertilizers and animal manure. Chemical fertilizers were reportedly used in longan orchard as much as in vegetable cultivationen_US
dc.identifier.callnoWA754 ท478ก 2547en_US
dc.identifier.contactno46ค006en_US
dc.subject.keywordHealth Impact Assessmenten_US
dc.subject.keywordผลกระทบทางสุขภาพen_US
dc.subject.keywordการกำหนดขอบเขตการประเมินผลen_US
.custom.citationทิพวรรณ ประภามณฑล, Thiphawan Phaphamonthon, พงศ์เทพ วิวรรธนะเดช, อัมพิกา มังคละพฤกษ์, สมศรี ปัทมพันธุ์, อำนาจ มีเวที, Pongtap Vivantanadej, Amphika Mangkalaprik, Somsri Phatamaphan and Amnat Meevattee. "การกำหนดขอบเขตการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในกลุ่มเกษตรกรจากการใช้สารเคมีทางการเกษตรในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลำพูน." 2547. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1936">http://hdl.handle.net/11228/1936</a>.
.custom.total_download256
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month1
.custom.downloaded_this_year14
.custom.downloaded_fiscal_year1

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs1200.pdf
ขนาด: 4.329Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย