แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การพัฒนาเครื่องมือประเมินประสิทธิภาพระบบเภสัชกรรมในโรงพยาบาลชุมชน

dc.contributor.authorธนนรรจ์ รัตนโชติพานิชth_TH
dc.contributor.authorThananan Rattanachotphaniten_US
dc.contributor.authorสุพล ลิมวัฒนานนท์th_TH
dc.contributor.authorจุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์th_TH
dc.contributor.authorกิตติ พิทักษ์นิตินันท์th_TH
dc.contributor.authorSupon Limwattananonen_US
dc.contributor.authorChulaporn Limwattananonen_US
dc.contributor.authorKitti Pitaknitinanen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:23:28Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:44:59Z
dc.date.available2008-12-04T05:23:28Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:44:59Z
dc.date.issued2549en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1957en_US
dc.descriptionชื่อหน้าปก: โครงการวิจัยเรื่องการพัฒนาเครื่องมือประเมินประสิทธิภาพระบบเภสัชกรรมในโรงพยาบาลชุมชนth_TH
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเครื่องมือประเมินประสิทธิภาพระบบเภสัชกรรมโรงพยาบาลชุมชนด้วยการนำแบบจำลอง Data envelopment analysis มาประยุกต์ใช้ ผลการศึกษานำมาซึ่งตัวแปรที่สำคัญของปัจจัยนำเข้า คือ จำนวน full time equivalent ของเภสัชกร จำนวน full time equivalent ของเจ้าพนักงานเภสัชกรรมและลูกจ้าง และตัวแปรผลผลิต 4 ด้านคือ 1) งานบริการจ่ายยา ได้แก่จำนวนใบสั่งยาที่ให้บริการสำหรับผู้ป่วยนอก และจำนวนใบสั่งยาที่ให้บริการสำหรับผู้ป่วยใน 2) งานบริหารเวชภัณฑ์ ได้แก่ มูลค่ายาที่จัดซื้อ มูลค่ายาคงคลัง และมูลค่ายาที่เบิกจ่ายออกจากคลัง 3) งานบริบาลเภสัชกรรม ได้แก่ จำนวนผู้ป่วยนอกที่ได้รับบริการบริบาลเภสัชกรรม และจำนวนผู้ป่วยในที่ได้รับบริการบริบาลเภสัชกรรม และ 4) งานคุ้มครองผู้บริโภค ได้แก่ จำนวนครั้งในการออกเผยแพร่ความรู้ให้แก่ผู้ประกอบการที่เป็นผู้ผลิต ผู้จำหน่าย และผู้บริโภค ในชุมชน และจำนวนครั้งในการออกตรวจสอบสถานประกอบการในชุมชน จากการนำแบบจำลอง DEA มาใช้ประเมินประสิทธิภาพในฝ่ายเภสัชกรรม ทำให้เห็นว่าในกลุ่มที่ศึกษามีความแตกต่างกันในระดับของความมีประสิทธิภาพ เมื่อนำผลดังกล่าวมาเปรียบเทียบกับการประเมินในเชิงจิตวิสัย พบว่ามีความสอดคล้องกัน และจากการเปรียบเทียบผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบจำลอง DEA ในระหว่าง 2 ช่วงเวลา พบว่าการเปลี่ยนแปลงของค่าคะแนนประสิทธิภาพที่ได้จากการวิเคราะห์ด้วยแบบจำลอง DEA เป็นไปในทางสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยนำเข้า และผลผลิตของฝ่ายเภสัชกรรมth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectQuality of Health Careen_US
dc.subjectHealth Service Systemsen_US
dc.subjectPharmacy Services, Hospitalen_US
dc.subjectPharmacyen_US
dc.subjectการพัฒนาคุณภาพบริการen_US
dc.subjectระบบบริการสุขภาพen_US
dc.subjectเภสัชกรรมของโรงพยาบาล, การบริการen_US
dc.subjectเภสัชกรรมen_US
dc.subjectการบริการสาธารณสุขen_US
dc.subjectระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems)th_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการพัฒนาเครื่องมือประเมินประสิทธิภาพระบบเภสัชกรรมในโรงพยาบาลชุมชนth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of measure for efficiency evaluation of hospital pharmacy service in district hospitalsen_US
dc.identifier.callnoWX179 ธ144ก 2549en_US
dc.identifier.contactno48ค037en_US
dc.subject.keywordMeasurementen_US
dc.subject.keywordEfficiencyen_US
dc.subject.keywordHospital Pharmacy Serviceen_US
dc.subject.keywordData Envelopment Analysisen_US
.custom.citationธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช, Thananan Rattanachotphanit, สุพล ลิมวัฒนานนท์, จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์, กิตติ พิทักษ์นิตินันท์, Supon Limwattananon, Chulaporn Limwattananon and Kitti Pitaknitinan. "การพัฒนาเครื่องมือประเมินประสิทธิภาพระบบเภสัชกรรมในโรงพยาบาลชุมชน." 2549. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1957">http://hdl.handle.net/11228/1957</a>.
.custom.total_download249
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year10
.custom.downloaded_fiscal_year2

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs1321.pdf
ขนาด: 783.8Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย