แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การจัดทำแบบจำลองรายจ่ายสุขภาพ

dc.contributor.authorดาว มงคลสมัยen_US
dc.contributor.authorDow Mongkolsmaien_US
dc.contributor.authorสมชาย สุขสิริเสรีกุลen_US
dc.contributor.authorเพลินพิศ สัตย์สงวนen_US
dc.contributor.authorประภัสสร เลียวไพโรจน์en_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:23:32Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:47:12Z
dc.date.available2008-12-04T05:23:32Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:47:12Z
dc.date.issued2543en_US
dc.identifier.otherhs0700en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1966en_US
dc.description.abstractการจัดทำแบบจำลองรายจ่ายสุขภาพรายงานฉบับนี้เป็นการทบทวนงานวิจัยและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับรายจ่ายสุขภาพ และการสร้างแบบจำลองรายจ่ายสุขภาพของไทย จากการทบทวนงานวิจัยต่างๆ สามารถแบ่งกลุ่มงานที่ศึกษาเรื่องรายจ่ายด้านสุขภาพออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้ กลุ่ม ก. การวัดและประมาณรายจ่ายสาธารณสุขของประเทศต่างๆ โดยการสร้างระบบบัญชีรายจ่ายด้านสุขภาพ ซึ่งจะให้ภาพแหล่งที่มาของรายจ่ายดังกล่าวกลุ่ม ข. การวิเคราะห์เพื่ออธิบายความแตกต่างของรายจ่ายด้านสุขภาพระหว่างประเทศในระดับมหภาค เป็นการวิเคราะห์สมการถดถอย โดยใช้ข้อมูลภาคตัดขวางของประเทศต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ข้อมูลของประเทศที่พัฒนาแล้ว และมักได้ผลการศึกษาตรงกันว่ารายได้ประชาชาติเป็นตัวแปรที่กำหนดรายจ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวมของประเทศ ประเทศที่มีรายได้ประชาชาติต่อหัวสูง จะมีรายจ่ายด้านสาธารณสุขสูงด้วย ส่วนตัวแปรอื่นมีความสำคัญในการกำหนดรายจ่ายด้านสุขภาพรองลงมาจากรายได้ กลุ่ม ค. การศึกษารายจ่ายด้านสุขภาพในระดับจุลภาค เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลภาคตัดขวางจากการสำรวจรายได้และรายจ่ายของครัวเรือนโดยใช้สมการถดถอย เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างรายจ่ายด้านสุขภาพของครัวเรือนกับตัวแปรระดับจุลภาคต่างๆ เช่น รายได้ของครัวเรือน ลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน ฯลฯ ส่วนใหญ่พบว่ารายได้ไม่ใช่ตัวแปรที่สำคัญมากในการกำหนดรายจ่ายด้านสุขภาพของครัวเรือนเท่ากับในระดับมหภาค เมื่อเปรียบเทียบข้อดีและข้อจำกัดของการศึกษาทั้งสามกลุ่ม พอสรุปได้ว่า การประมาณรายจ่ายด้านสุขภาพของประเทศในปีหนึ่งๆ โดยสร้างระบบบัญชีรายจ่ายด้านสุขภาพ (กลุ่ม ก.) แม้จะสามารถระบุขนาดการใช้ทรัพยากรของสังคมในกิจกรรมด้านสุขภาพได้ ไม่ว่าจะเป็นในภาครัฐหรือภาคเอกชน หรือจะเป็นในกิจกรรมด้านการบริโภคหรือการสะสมทุน แต่ก็เป็นเพียงภาพนิ่งในช่วงเวลาหนึ่งๆ ไม่มีวัตถุประสงค์สำหรับการพยากรณ์รายจ่ายด้านสุขภาพในอนาคต ทั้งเรื่องขนาดและทิศทาง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ไม่อาจอธิบายการเปลี่ยนแปลงรายจ่ายด้านสุขภาพที่เกิดจากปัจจัยภายนอกและนโยบายการแทรกแซงของรัฐen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent5790825 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Expenditures -- Thaien_US
dc.subjectเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขen_US
dc.titleการจัดทำแบบจำลองรายจ่ายสุขภาพen_US
dc.title.alternativeHealth expenditure modelen_US
dc.description.abstractalternativeHealth expenditure model This report presents the findings of the research "Health Expenditure Model" which consists of a review of related literature and the health expenditure model. The review of related research work identifies 3 groups of study on health care expenditures: group A measures and estimates health care expenditures of countries by developing national health accounts (NHA) showing sources of financing for health care. Group B analyzes the difference in health care expenditures among countries at a macro level, utilizing regression analysis of cross section data. The findings from such studies using data of developed countries indicate that national income is the most important factor determining aggregate health care expenditures. Group C studies health expenditures at a micro level, using cross section data from surveys of household income and expenditures in a regression analysis to find the relationship between household health care expenditures and household income and other socio-economic variables. It is found that income is not a very important determinant of household health care expenditures as in the macro study.When comparing the 3 groups of studies, it can be concluded that group A or NHA studies can identify the size of the society's resources used in health activities either in the public or the private sector, in consumption or investment, but it provides a picture at a certain point in time. It does not serve as a tool for forecasting future health expenditures, nor for explaining the changes in health expenditures resulting from external factors and government interventions. Studies in Group B which construct a model and use a regression analysis can provide an explanation of factors determining health expenditures and of differences in health expenditures among countries, but they cannot say much about health policy directions and health budget determination. Group C studies on household health care expenditures are studies at a micro level which derive different findings and conclusions from those derived from a micro study.When comparing the 3 groups of studies, it can be concluded that group A or NHA studies can identify the size of the society's resources used in health activities either in the public or the private sector, in consumption or investment, but it provides a picture at a certain point in time. It does not serve as a tool for forecasting future health expenditures, nor for explaining the changes in health expenditures resulting from external factors and government interventions.en_US
dc.identifier.callnoW74 ด226ก 2543en_US
dc.subject.keywordHealth Care Costsen_US
dc.subject.keywordแบบจำลองรายจ่ายสุขภาพen_US
dc.subject.keywordรายจ่ายด้านสุขภาพen_US
.custom.citationดาว มงคลสมัย, Dow Mongkolsmai, สมชาย สุขสิริเสรีกุล, เพลินพิศ สัตย์สงวน and ประภัสสร เลียวไพโรจน์. "การจัดทำแบบจำลองรายจ่ายสุขภาพ." 2543. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1966">http://hdl.handle.net/11228/1966</a>.
.custom.total_download64
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year0
.custom.downloaded_fiscal_year0

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs0700.PDF
ขนาด: 6.125Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย