Show simple item record

Status and role of non-governmental organization on health promotion in Thailand

dc.contributor.authorยุพา วงศ์ไชยen_US
dc.contributor.authorYupa Wongchaien_US
dc.contributor.authorระพีพรรณ คำหอมen_US
dc.contributor.authorปิยะฉัตร ชื่นตระกูลen_US
dc.contributor.authorสดใส คุ้มทรัพย์อนันต์en_US
dc.contributor.authorอภิญญา เวชยชัยen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:23:47Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:48:33Z
dc.date.available2008-12-04T05:23:47Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:48:33Z
dc.date.issued2541en_US
dc.identifier.otherhs0591en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/1994en_US
dc.description.abstractสถานภาพและบทบาทการดำเนินการส่งเสริมสุขภาพภาคเอกชนในประเทศไทย การศึกษาเรื่องสถานภาพและบทบาทการส่งเสริมสุขภาพองค์กรภาคเอกชน วิเคราะห์และเสนอแนะเชิงนโยบายในการสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพในองค์กรภาคเอกชน วิธีการศึกษาโดยแบบสอบถามจากผู้รับผิดชอบองค์กรจำนวน 513 องค์กร และแบบสัมภาษณ์ ผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน และศึกษาองค์กรในรูปกรณีศึกษา จำนวน 15 แห่ง ผลการศึกษาพบว่าองค์กรที่ศึกษาส่วนใหญ่ก่อตั้ง เพื่อการรวมตัวกันการดำเนินกิจกรรมกลุ่มของสมาชิกและสาธารณสุขกุศลวัตถุประสงค์ขององค์กรเป็นไปเพื่อการทำงานด้านกิจกรรมสุขภาพกลุ่มเป้าหมาย ส่วนใหญ่เป็นคนชรา กิจกรรมหลักขององค์กรเน้นที่การส่งเสริมด้านวิชาการและการบริหาร องค์กรที่กิจกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพส่วนใหญ่เป็นการส่งเสริมสุขภาพระดับบุคคลหรือกล่มผู้สนใจเฉพาะ แต่การส่งเสริมสุขภาพระดับชุมชนหรือกิจกรรมระดับสังคมยังมีน้อยส่วนการสนับสนุนองค์กรภาคเอกชน ส่วนใหญ่ไม่ได้รับการสนับสนุนจากภายนอก องค์กรที่ได้รับการสนับสนุนได้มาจากภาครัฐเป็นหลัก แถ้าพิจารณายอดเงิน องค์กรระหว่างประเทศให้การสนับสนุนเป็นยอดเงินที่สูงกว่า บทบาทการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพภาคเอกชน พบว่าผู้รับผิดชอบองค์กรมีความรู้ ด้านกาารส่งเสริมสุขภาพแนวใหม่อยู่ในเกณฑ์ดี ความรู้ที่ดีได้แก่ การสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดี มีผลต่อการมีสุขภาพองค์กรควรมีส่วนช่วย ชี้แนะทางสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพจะให้คนดูแลตนเองได้ การส่งเสริมอนามัยเป็นของงานที่ร่วมกันของรัฐและเอกชน คนทุกคนมีส่วนช่วยให้มีสุขภาพดี ส่วนที่ต้องส่งเสริมให้มากขึ้นคือ การระดมทรัพยากรเกื่ยวกับการดูแลสุขภาพคนในชุมชน โดยภาพรวมศักยภาพขององค์กรในการดำเนินงานเพื่อส่งเสริมสุขภาพมีศักยภาพที่ส่งเสริมการสนับสนุนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพในระดับน้อย แม้องค์กรเอกชนมีองค์ประกอบที่ถือได้ว่า เป็นจุดแข็งคือความคิดเห็นที่ว่าองค์กรมีจุดมุ่งหมายให้ชุมชนเข้มแข็ง จัดกิจกรรมตามวัตถุประสงค์ขององค์กรได้ มีการติดตามผล ผู้ปฏิบัตงานมีความรู้เข้าใจบทบาทหน้าที่แม้ว่าจะมีส่วนที่ต้องส่งเสริมได้แก่ความสามารถควบคุมปัจจัยด้านสุขภาพได้อย่างมีคุณภาพ การจัดหาบุคคลากรให้เพียงพอ การบริการ การจัดการ และการสร้างเครือข่ายในการทำงาน การดำเนินกิจกรรมขององค์กร มีกิจกรรมเด่น ด้านการรวมตัวกัน เพื่อจัดกิจกรรมชุมชน การสนับสนุนให้คนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ และกิจกรรมที่มีการปฏิบัติน้อย คือ ด้านส่งเสริมด้านการอนุรักษ์ธรรมชาติ การวิจัยประเมินผลด้านสุขภาพ การจัดทำแผนงานที่เหมาะสม การรณรงค์ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชน บทบาทการส่งเสริมสุขภาพภาคเอกชน ในระดับบุคคล มีจุดเด่นในด้านการสนับสนุนให้คนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ การสนับสนุนให้คนเกิดการดูแลด้านสุขภาพ การพิทักษ์สิทธิประโยชน์ทางสุขภาพ และถ่ายทอดความรู้สึกด้านสุขภาพได้ ส่วนจุดอ่อนอยู่ที่การสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้เกิดขึ้น โดยระดับชุมชนจะมีการดำเนินงานในระดับปานกลางและจุดอ่อนจะอยู่ที่บทบาทด้านการส่งเสริม อนุรักษ์ธรรมชาติ บทบาทในเชิงวิชาการ เช่น การวิจัยประเมินผล การจัดทำแผน และข้อมูลทางสุขภาพ แนวโน้มการดำเนินกิจกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพขององค์กร การดำเนินการส่งเสริมสุขภาพอนาคตส่วนใหญ่ตั้งใจจะเน้นเรื่อง การให้ความรู้ด้านสุขภาพ การดูแลสุขภาพ บริการตรวจ การให้คำแนะนำ การเยี่ยมเยียนผู้ป่วยในชุมชน โดยกิจกรรมการดำเนินงานยังจะเน้นบทบาทการทำงานในระดับบุคคลมากกว่าเน้นที่ชุมชน องค์กรภาคเอกชนต้องการสนับสนุนเพื่อให้องค์กรมีความเข้มแข็ง มีการพัฒนาให้มากยิ่งขึ้น โดยการสนับสนุนด้านทรัพยากร วิชาการ การสร้างเครือข่ายการทำงาน และการได้รับการยอมรับจากสังคมen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent3644185 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Promotionen_US
dc.subjectส่งเสริมสุขภาพen_US
dc.titleสถานภาพและบทบาทการดำเนินการส่งเสริมสุขภาพภาคเอกชนในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeStatus and role of non-governmental organization on health promotion in Thailanden_US
dc.description.abstractalternativeThe research project on status and role of non-governmental organizations on health promotion in Thailand conducted by professor Yupa Wongchai and Associates, aims to explore the current finction of NGOs in thailand, and submit recommendation from research finding which analyzed from 513 questionnaires responded by organization authorities, 5 expert-interviews and 15 case studies of selective organization. It is found that most of NGOs in this study have set up their own agencies for delivering services to their members amd target groups which mainly are the aging. The main activities are giving technical and managerial support and charity work. It is very clear that most of those activities mainly focuses on individual basis not community work. Most of agencies do not obtain support from the outside. Most Of those which gain outside support mainly get from the government side. If considering the amount of budget, the international agencies gave bigger amount the public agencies. It also fond that most of NGO's authorities have sufficent knowledge and clear-cut understanding principle of Ottawa Charter's Health Promotion. They understand that makingbetter environment will make target group's better health. The agencies should advise the target group in order to taking care the target groups health, Health promotion will support self health care, health promotion should be cooperation between government al and non-governmental parts but theyneed more knowledge of commonity resource mobilization. Most of agencies have potentail to involve in health promotion. Most of them have objectice to strengthening community, they can conduct actives following the agencies objectives and rhen follow up their work. They have qualify personnel's which understand their function and roles. However, their weaker points are they still facing uncontrollable health factors. Also, they need more management and administative skills, especially building and working through network. Most of thier activities mainly focus on getting to gather to do community, encouraging people to take good care of their own health. The rare activities are natural and environmental presservation, work plan design, campaigning for changing for target group's health behavioral change. The NGOs programs in this study focus on individual basis more than community focus. In individual basis, the Y focus on enable people to taking caer their own health., offer health education program. They also conduct activities such as community leaning procees, The weakest point are they do not concentrate on environmemt al reservetion and technical part such as evaluative research, planing and data collecting etc. For their future trend, they aim to give health education health caer, health counseling service, community visit which still focus only on individual basis. The also need to be strainghten their organizational potentiality though resources and technical support. They need to cooperate with health promotion partnership through network and need to gian public recognition.en_US
dc.identifier.callnoWA540 ย246ร 2541en_US
dc.subject.keywordองค์กรเอกชนen_US
.custom.citationยุพา วงศ์ไชย, Yupa Wongchai, ระพีพรรณ คำหอม, ปิยะฉัตร ชื่นตระกูล, สดใส คุ้มทรัพย์อนันต์ and อภิญญา เวชยชัย. "สถานภาพและบทบาทการดำเนินการส่งเสริมสุขภาพภาคเอกชนในประเทศไทย." 2541. <a href="http://hdl.handle.net/11228/1994">http://hdl.handle.net/11228/1994</a>.
.custom.total_download93
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year1
.custom.downloaded_fiscal_year4

Fulltext
Icon
Name: hs0591.pdf
Size: 3.622Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record