dc.contributor.author | ชัชวาลย์ จันทรวิจิตร | th_TH |
dc.contributor.author | Chatchavan Janvijit | en_US |
dc.contributor.author | ยุวยงค์ จันทรวิจิตร | th_TH |
dc.contributor.author | ศิวพร อึ้งวัฒนา | th_TH |
dc.contributor.author | นงเยาว์ อุดมวงศ์ | th_TH |
dc.contributor.author | จิตนธี เขนย | th_TH |
dc.contributor.author | นุชยงค์ เยาวพานนท์ | th_TH |
dc.contributor.author | มลวิภา ศิริโหราชัย | th_TH |
dc.coverage.spatial | th | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-12-04T05:23:49Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-17T00:46:26Z | |
dc.date.available | 2008-12-04T05:23:49Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-17T00:46:26Z | |
dc.date.issued | 2546 | en_US |
dc.identifier.other | hs1024 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/2000 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดขอบเขตและแนวทางการศึกษาผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการพัฒนาเหมืองถ่านหินเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชนและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เป็นการนำผลการศึกษาจากการทบทวนผลกระทบที่เคยเกิดขึ้นจากการทำเหมืองที่มีลักษณะเดียวกันจากทั้งในและต่างประเทศ มาผนวกกับผลการศึกษาวิถีชุมชนของประชาชนเวียงแหง เพื่อกำหนดประเด็นผลกระทบที่ควรได้รับการประเมินและเสนอแนะขอบเขตและแนวทางในการประเมินเพื่อให้ทราบผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นได้อย่างถูกต้องและครอบคลุม การศึกษาครั้งนี้ได้จัดให้มีการประชุมเพื่อให้ประชาชนและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้มีส่วนร่วมในการให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมประเด็นผลกระทบ ขอบเขตและแนวทางการศึกษา และสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน จากการศึกษาพบว่าผลกระทบที่ควรศึกษา อาจแบ่งเป็น 4 ด้าน คือ ผลกระทบทางกาย จิต สังคม และจิตวิญญาณ โดยมีประเด็นที่ควรศึกษา 12 ประเด็น ดังนี้ ทางกาย ควรศึกษาผลกระทบด้าน 1) อุบัติเหตุและการได้รับบาดเจ็บ 2) ผลกระทบจากเสียงดัง 3) โรคและความเดือดร้อนจากมลพิษทางอากาศ 4) โรคและผลกระทบจากมลพิษทางน้ำ 5) ผลกระทบจากแรงสั่นสะเทือน 6) การเคลื่อนย้ายแรงงานและการแพร่ระบาดของโรค ผลกระทบทางจิตใจ ควรศึกษาด้าน 7) ความเครียดและความวิตกกังวล ผลกระทบทางสังคม ควรศึกษาด้าน 8) ผลกระทบต่อวิถีชีวิตชุมชน 9) ผลกระทบจากการอพยพย้ายถิ่น และ 10) ผลกระทบต่อพื้นที่ป่าและเกษตรกรรม และผลกระทบทางจิตวิญญาณ ควรศึกษาด้าน 11) ผลกระทบต่อทัศนียภาพและการสูญเสียความรักและความภาคภูมิใจในท้องถิ่น และ 12) ผลกระทบต่อสิ่งยึดเหนี่ยวทางจิตใจ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.format.extent | 653294 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/octet-stream | en_US |
dc.language | tha | en_US |
dc.language.iso | en_US | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | Environmental Health | en_US |
dc.subject | Chiang Mai | en_US |
dc.subject | สุขภาพสิ่งแวดล้อม | en_US |
dc.subject | เชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) | th_TH |
dc.title | การกำหนดขอบเขตและแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการพัฒนาเหมืองถ่านหินเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ | th_TH |
dc.title.alternative | Set up public scoping for investigation of possible health impacts from the Wieng Haeng mining project | en_US |
dc.description.abstractalternative | This study was aimed to set up public scoping for investigation of possible health impacts from the Wieng Haeng mining project, using the participatory approach from public and other stakeholders. Results from literature review on possible health impacts, and data on the living styles of the affected community were used to identify the possible health impacts. Public and other stakeholders were allowed to join the study and provide suggestions for public scoping. It was found that there were four aspects of possible health impacts: physical, mental, social, and spiritual health. Physical health impacts were: 1) Accidents and injuries from mining and transportation 2) Effects from noise 3) Diseases and effects from air pollution 4) Diseases and effects from water pollution 5) Effects from explosion 6) Labor migration and communicable diseases. Mental health impacts were expected from 7) Stress and anxiety. Social health impacts were likely from: 8) Effects to community life style 9) Effects from community migration and resettlement 10) Effects from depletion of forest and agriculture land. Spiritual health impacts were likely from 11) Effects from aesthetic changes and loss of loyalty to and connection with the locality and 12) Effects from losing their spiritual haven. | en_US |
dc.identifier.callno | WA754 ช358ก 2546 | en_US |
dc.identifier.contactno | 45ค075 | en_US |
dc.subject.keyword | Health Impact | en_US |
dc.subject.keyword | Wieng Haeng Mining | en_US |
dc.subject.keyword | Public Scoping | en_US |
dc.subject.keyword | Evaluation | en_US |
dc.subject.keyword | ผลกระทบทางสุขภาพ | en_US |
dc.subject.keyword | เหมืองถ่านหินเวียงแหง | en_US |
dc.subject.keyword | การกำหนดขอบเขต | en_US |
dc.subject.keyword | การประเมิน | en_US |
.custom.citation | ชัชวาลย์ จันทรวิจิตร, Chatchavan Janvijit, ยุวยงค์ จันทรวิจิตร, ศิวพร อึ้งวัฒนา, นงเยาว์ อุดมวงศ์, จิตนธี เขนย, นุชยงค์ เยาวพานนท์ and มลวิภา ศิริโหราชัย. "การกำหนดขอบเขตและแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการพัฒนาเหมืองถ่านหินเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่." 2546. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2000">http://hdl.handle.net/11228/2000</a>. | |
.custom.total_download | 106 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 5 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 0 | |