Show simple item record

Sustainable universal health coverage : household met need

dc.contributor.authorSuphasit Panarunothaith_TH
dc.contributor.authorศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัยth_TH
dc.contributor.authorดิเรก ปัทมสิริวัฒน์th_TH
dc.contributor.authorสุกัลยา คงสวัสดิ์th_TH
dc.contributor.authorสัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์th_TH
dc.contributor.authorวิรัชดา สุทธยาคมth_TH
dc.contributor.authorพิชญ์ รอดแสวงth_TH
dc.contributor.authorDirek Patamasiriwaten_US
dc.contributor.authorSukanya Khongsawaten_US
dc.contributor.authorSumrit Sritamrongsawaten_US
dc.contributor.authorWiratda Sutayakhomen_US
dc.contributor.authorPhi Rodsawaengen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:23:50Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:34:33Z
dc.date.available2008-12-04T05:23:50Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:34:33Z
dc.date.issued2545en_US
dc.identifier.otherhs1142en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2001en_US
dc.description.abstractหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นนโยบายสำคัญอย่างหนึ่งที่องค์การอนามัยโลกเสนอแนะแก่รัฐบาลทั้งประเทศพัฒนาและกำลังพัฒนา ประเทศไทยดำเนินนโยบายนี้ทั่วประเทศอย่างรวดเร็วฉับไวเพียงหนึ่งปีหลังจากรัฐบาลใหม่ได้ชัยชนะเสียงข้างมากจากการเลือกตั้งในปี 2544 โดยใช้ชื่อว่า 30 บาทรักษาทุกโรค การวิจัยนี้ เพื่อบันทึกเป็นหลักฐานว่า กระบวนการนโยบายที่ระดับส่วนกลางและส่วนภูมิภาคในช่วงปีแรกที่ดำเนินการเป็นอย่างไร และเพื่อวัดผลกระทบของนโยบายที่ระดับครัวเรือน จุดประสงค์สุดท้ายเพื่อเสนอแนะเชิงนโยบายว่า หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ายั่งยืนควรดำเนินการต่อไปอย่างไร การศึกษานี้ใช้วิธีวิจัยสามชนิดเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ทั้งหมด การทบทวนเอกสาร และ การวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นวิธีวิจัยเพื่อพรรณนากระบวนการนโยบายที่ระดับประเทศและระดับจังหวัดรวมทั้งผลกระทบของการดำเนินการตามนโยบายต่อระบบบริการสุขภาพ ระเบียบวิธีวิจัยที่สาม คือ การสำรวจครัวเรือนโดยการสัมภาษณ์ด้านสุขภาพ เพื่อวัดผลกระทบของนโยบายรัฐที่ตกกับครัวเรือนในภาคต่างๆ การวิจัยนี้ดำเนินการใน 4 จังหวัดที่คัดเลือกอย่างเจาะจงจากจังหวัด 21 จังหวัดที่เริ่มนำร่องนโยบายตั้งแต่เมษายนและมิถุนายน 2544 การวิจัยเชิงคุณภาพใช้กระบวนการหลักคือ การสัมภาษณ์ลึกและการประชุมอภิปรายกลุ่มย่อยกับผู้บริหารระดับสูงของจังหวัด ผู้วิเคราะห์นโยบายและผู้ให้บริการ การสำรวจครัวเรือนเลือกครัวเรือนแบบสุ่มครอบคลุมทั้งเขตเมืองและชนบท จังหวัดละ 1,000 ครัวเรือน ผลการวัยพบว่า การออกแบบระบบของนโยบาย 30 บาทรักษาทุกโรคของจังหวัดนำร่องที่เริ่มเดือนเมษายนและมิถุนายน 2544 เป็นวิธีดำเนินการแบบ “รายวัน” ขณะที่การตัดสินใจในระยะดำเนินการเต็มพื้นที่ทั่วประเทศตั้งแต่เดือนตุลาคม 2544 ดำเนินการแบบ “รายเดือน” การตัดสินใจเชิงนโยบายแบบเปลี่ยนไปเรื่อยทำให้เกิดความขลุกขลักตลอดจนสิ้นปี 2544 การดำเนินตามนโยบายที่ระดับกระทรวงพบปัญหาความต่อเนื่องของบุคลากรที่มีความสามารถ การปฏิบัติตามนโยบายที่ระดับจังหวัดอยู่ภายใต้วิกฤตหรือไม่ขึ้นกับภาวะผู้นำของนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดและผู้อำนวยการโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป จังหวัดที่เลือกวิธีจัดสรรงบประมาณโครงการโดยการรวมงบผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอก (inclusive capitation) มีแนวโน้มประสบปัญหาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยที่ลดลงโดยการส่งต่อผู้ป่วยลดลง และมักพบในจังหวัดที่มีระดับภาวะผู้นำต่ำ การสำรวจครัวเรือนพบว่า นโยบายนี้เป็นที่ชื่นชอบทั้งครัวเรือนร่ำรวยและครัวเรือนยากจน ประชาชนไทยเปลี่ยนแนวคิดจากเชิงเสรีนิยม (โดยให้ครัวเรือนรับผิดชอบจ่ายเงินเอง) เอนเอียงไปทางนโยบายสังคม สวัสดิภาพนิยม โดยลดการแบ่งแยกเป้าหมายระหว่างคนรวยคนจน เมื่อเปรียบเทียบกันระหว่างครัวเรือนภายใต้หลักประกันสำคัญของประเทศ (สวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการ ประกันสังคม และ 30 บาทรักษาทุกโรค) พบว่าผู้ได้รับสิทธิ 30 บาทรักษาทุกโรค ยังมีอัตราการใช้สิทธิเมื่อเจ็บป่วยและเข้ารับบริการในระดับต่ำ ทั้งการใช้บริการแบบผู้ป่วยนอกและการใช้บริการผู้ป่วยใน อย่างไรก็ตามครัวเรือนที่ยากจน มีอัตราการปฏิบัติตามสิทธิที่ตนมี สูงกว่าครัวเรือนที่ร่ำรวย ซึ่งพอตีความได้ว่า นโยบาย 30 บาทรักษาทุกโรคสามารถบรรลุผลได้บางส่วน เมื่อเปรียบเทียบความเป็นธรรมทางการคลังสุขภาพ โดยเฉพาะการจ่ายเงินเมื่อรับบริการ ผู้มีสิทธิ 30 บาทรักษาทุกโรคได้รับการปกป้องจากการจ่ายเงินแบบถดถอยต่อรายได้ครัวเรือน ต่อกว่าผู้มีสิทธิประกันสังคม โดยเฉพาะครัวเรือนยากจนยังรับภาระสูงเมื่อแสวงหาบริการสุขภาพ เพื่อให้นโยบายมีประสิทธิผลระยะยาว ควรบริหารจัดการนโยบายนี้เน้นหนักในด้านอุปทานของบริการth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.description.sponsorshipไจก้าen_US
dc.format.extent923166 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Policyen_US
dc.subjectInsurance, Healthen_US
dc.subjectระบบประกันสุขภาพen_US
dc.subjectระบบบริการสุขภาพen_US
dc.subjectสุขภาพ--การประเมินen_US
dc.subjectเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขen_US
dc.subjectการบริการสาธารณสุขen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleความเป็นธรรมทางสุขภาพ : การประเมินระดับครัวเรือนth_TH
dc.title.alternativeSustainable universal health coverage : household met needen_US
dc.description.abstractalternativeUniversal health coverage is one important policy recommendation by the World Health Organisation to governments in both developed and developing countries. Thailand was ambitious in setting the target to achieve this policy nationwide only a year after the majority vote victory in 2001 by putting up the 30 baht medical care policy. This research was to document the policy processes at the central and provincial levels during the first year of implementation, and to measure the impact of the policy at household level. The ultimate aim was to recommend on how to make the policy sustainable.This study employed three research methods in order to complement each other. The documentary reviews and qualitative methods were used to describe policy processes at the national and provincial levels, and outlined impacts of such implementations on health delivery systems. The third method employed a full-scale household health interview survey to measure policy impacts at household level. Four provinces were purposively selected from 21 piloted provinces since April 2001 and June 2001. In-depth interviews and focus group discussions were the main qualitative methods used with top executives, policy makers, and providers. Household surveys consisted of about 1,000 households in each province. It was revealed that the designs of the systems for pilot provinces in April and June 2001 were the day-to-day management style, whereas the decisions for full implementation since October 2001 have been a monthly management. Unstable policy decisions created turbulence till the end of 2001. The implementation of the policy at the ministry level faced with the discontinuity of capable responsible officers. Policy implementations at provincial level were critically at risk under the leaderships of provincial chief medical officers and provincial hospital directors. It seemed that provinces applying an inclusive outpatient-inpatient capitation budget faced additional risks on substandard quality of care by under referrals with the coincidence of weak leaderships. Household surveys revealed that the policy was highly supported by both the rich and the poor. Thai citizens have shifted from their libertarian views to slightly egalitarian views in reducing social policies, that discriminate the rich and the poor. When compared among three main health benefit schemes (civil servant medical benefit, social security and the 30 baht scheme), the 30 baht still faced with low compliance rates (use of their health benefits when they seek medical care) for both outpatient and inpatient services. However, the poor families complied at a higher rate than the rich, which means that the policy has at least achieved its main objective. Comparing equity of financing by out-of-pocket expenditure, the 30 baht scheme was inferior to the social security scheme in protecting the lower income families from financial burden of seeking health care. To attain sustainable coverage, recommendations on managing supply side are crucial.en_US
dc.identifier.callnoWA540 ศ735ค 2545en_US
dc.identifier.contactno45ค006en_US
dc.subject.keywordUniversal Health Coverageen_US
dc.subject.keywordSelf Assessed Healthen_US
dc.subject.keywordHealth Needen_US
dc.subject.keyword30 บาท รักษาทุกโรคen_US
.custom.citationSuphasit Panarunothai, ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย, ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์, สุกัลยา คงสวัสดิ์, สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์, วิรัชดา สุทธยาคม, พิชญ์ รอดแสวง, Direk Patamasiriwat, Sukanya Khongsawat, Sumrit Sritamrongsawat, Wiratda Sutayakhom and Phi Rodsawaeng. "ความเป็นธรรมทางสุขภาพ : การประเมินระดับครัวเรือน." 2545. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2001">http://hdl.handle.net/11228/2001</a>.
.custom.total_download132
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year3
.custom.downloaded_fiscal_year1

Fulltext
Icon
Name: hs1142.pdf
Size: 493.9Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record