Show simple item record

Directly observed therapy, short-course(DOTS) in Thailand

dc.contributor.authorเพชรวรรณ พึ่งรัศมีen_US
dc.contributor.authorPetchawan Pungrassamien_US
dc.contributor.authorวีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์en_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:23:51Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:33:32Z
dc.date.available2008-12-04T05:23:51Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:33:32Z
dc.date.issued2542en_US
dc.identifier.otherhs0545en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2003en_US
dc.description.abstractพัฒนาการของการควบคุมวัณโรคโดยยุทธวิธี Directly Observed Therapy, Short-course (DOTs) ในประเทศไทยจนถึงกุมภาพันธ์ 2542DOTs เป็นยุทธวิธีหนึ่งที่ได้รับการสนับสนุนจากองค์กรด้านสุขภาพระหว่างประเทศ เช่น องค์กรอนามัยโลก เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพสูงสุด ยุทธวิธีนี้ประกอบด้วยกระบวนการตั้งแต่ การค้นหาผู้ป่วย การวินิจฉัย การให้ยาระยะสั้น การสังเกตการณ์แบบมีพี่เลี้ยง การจัดการให้มีเวชภัณฑ์อย่างเพียงพอ การควบคุมคุณภาพในห้องชัณสูตร การฝึกอบรมและนิเทศ การปรับยุทธวิธีให้เหมาะสมกับสถานการณ์ การสร้างข้อผูกมัดเพื่อให้รัฐต้องควบคุมการระบาดของวัณโรค โดยที่ DOT เป็นหนึ่งในยุทธวิธีทั้งหมดที่สามารถปฏิบัติโดยเจ้าหน้าที่สุขภาพ อาสาสมัคร ผู้นำชุมชน และสมาชิกในครอบครัวของผู้ที่เป็นวัณโรคการอบรมในยุทธวิธี DOT เริ่มครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2539 กระทั่งปี 2541 มีการขยายการปฏิบัติได้ครอบคลุม 299 อำเภอในประเทศไทยคิดเป็น 34.1% อย่างไรก็ดีปัญหาที่เกิดขึ้นจะเป็นเรื่องคุณภาพ เนื่องจากยังมีผู้ปฏิบัติอีกจำนวนมากที่ไม่ได้รับการฝึกอบรม ผู้ที่ทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงมากที่สุดได้แก่ สมาชิกในครอบครัว (47.6% - 100%) การนิเทศโดยผู้ประสานระดับจังหวัดและอำเภอยังไม่สม่ำเสมอ นำไปสู่การประเมินที่ไม่มีประสิทธิผล ดังนั้นผลการประเมินมักเป็นปริมาณมากกว่าคุณภาพ จากการสุ่มตัวอย่างผู้ป่วยที่ลงทะเบียนตั้งแต่เดือนตุลาคม 2539 ถึง มกราคม 2541 เพื่อมาตรวจผลเสมหะทุกๆ 4 เดือน พบว่าให้ผลลบในสัดส่วน 79.65, 80.1%, 80.0%, 73.4% และ 77.6% ตามลำดับปัญหาหลักของการปฏิบัติ DOT ในประเทศไทยได้แก่ การขาดความสนใจจากผู้บริหารนโยบาย การขาดความสนใจจากผู้ที่สามารถเป็นพี่เลี้ยง ดังจะเห็นได้จากมีจำนวนผู้ที่สนใจเข้ารับการอบรมจำนวนไม่มาก ขาดการประสานและนิเทศในทุกๆระดับเพื่อสนับสนุน และขาดระบบข้อมูลที่มีประสิทธิผล เอกสารนี้ให้ข้อเสนอแนะว่าควรมีการสร้างเครือข่ายเพื่อทำการวิจัยเรื่องนี้เพื่อเป็นข้อมูลต่อการกำหนดทิศทางนโยบายและควรพัฒนารูปแบบของการดำเนินงาน DOT ที่เหมาะสมสำหรับแต่ละพื้นที่en_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectการป้องกันและควบคุมโรคen_US
dc.titleพัฒนาการของการควบคุมวัณโรคโดยยุทธวิธี Directly observed therapy, short-course (DOTS) ในประเทศไทยจนถึงกุมภาพันธ์ 2542en_US
dc.title.alternativeDirectly observed therapy, short-course(DOTS) in Thailanden_US
dc.description.abstractalternativeThailand’s Historical Development of TBs Control by DOTs(Directly Observed Therapy, Short-course)The DOTS (Directly Observed Treatment, Short-course is one of the alternatives considered most efficient and supported by most international health organisations including WHO. The DOTs are composed of processes of patient identification, diagnosis, short-course medication, directly observed treatment, management for drug sufficiency, quality control in lab, training and supervision, situation adjustment and public commitment for TB control. DOT is one of these potentially performed by health officials, health volunteers, community leaders and family members. Training for the DOT was started since 1996 in Thailand. In the end of 1998, 299 districts (34.1%) had the DOT program which was problematic in quality due to a number of people performing the program without being trained. The most observers were family members (47.6% - 100%). The supervision by provincial and district tuberculosis coordinators was irregular resulting in poor evaluation which was likely to assess quantity preferable to quality of the program. The patients who were registered between October 1995 and January 1998 were randomly sampled for sputum testing in every 4 months showing negative result in percentage of 79.65, 80.1%, 80.0%, 73.4% and 77.6% respectively. Problems of running the DOTs program in Thailand were lack of concern in people at policy administrative level, lack of interests in people who were potential to be effective observers leading to low number of people attending training course, shortage of coordination and supervision at all levels to support the DOTs, and lack of effective information system. This paper recommends establishment of research network to increase positive impact on policy direction and to develop models suitable for particular areas.en_US
dc.identifier.callnoWF200 พ256พ 2542en_US
dc.subject.keywordDirectly Observed Therapy (DOTS)en_US
dc.subject.keywordวัณโรคen_US
.custom.citationเพชรวรรณ พึ่งรัศมี, Petchawan Pungrassami and วีระศักดิ์ จงสู่วิวัฒน์วงศ์. "พัฒนาการของการควบคุมวัณโรคโดยยุทธวิธี Directly observed therapy, short-course (DOTS) ในประเทศไทยจนถึงกุมภาพันธ์ 2542." 2542. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2003">http://hdl.handle.net/11228/2003</a>.
.custom.total_download120
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year2
.custom.downloaded_fiscal_year5

Fulltext
Icon
Name: hs0545.PDF
Size: 4.628Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record