The consumer empowerment system synthesis research project
dc.contributor.author | กมลทิพย์ แจ่มจันทร์ | th_TH |
dc.coverage.spatial | th | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-12-04T05:24:10Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-17T00:36:51Z | |
dc.date.available | 2008-12-04T05:24:10Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-17T00:36:51Z | |
dc.date.issued | 2546 | en_US |
dc.identifier.other | hs1002 | en_EN |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/2044 | en_US |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ในการพัฒนาโครงการวิจัยสังเคราะห์ระบบการเสริมสร้างศักยภาพผู้บริโภคไว้ 5 ประการคือ วิเคราะห์ทบทวนองค์ความรู้ และสถานการณ์ผู้บริโภคและปัจจัยที่เอื้อต่อการเสริมสร้างศักยภาพผู้บริโภควิเคราะห์บทบาท ภาระหน้าที่ของทุกฝ่ายที่มีส่วนได้ส่วนเสียในกระบวนการผู้บริโภค ถึงจุดแข็ง จุดอ่อน อุปสรรคและโอกาสในการเสริมสร้างศักยภาพผู้บริโภคเสนอบทบาทและหน้าที่ที่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องควรจะเป็น พร้อมเสนอตัวแบบที่เหมาะสมในการพัฒนากระบวนการผู้บริโภคให้มีความเข้มแข็งและยั่งยืนเสนอกลไก นโยบาย แผนกลยุทธ์และแนวทาง รวมถึงมาตรการด้านต่างๆ ที่จำเป็นต่อการดำเนินงานพัฒนากระบวนการผู้บริโภคให้เกิดประสิทธิภาพในทางปฏิบัติสร้างระบบสนับสนุน ส่งเสริมและพัฒนาการดำเนินงานเสริมสร้างศักยภาพผู้บริโภคให้มีความต่อเนื่องและยั่งยืนสำหรับเป้าหมายในการพัฒนาโครงการวิจัยสังเคราะห์ระบบการเสริมสร้างศักยภาพผู้บริโภคนี้มี 3 ประการคือ การทบทวนองค์ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการเสริมสร้างศักยภาพผู้บริโภคและการสร้างองค์ความรู้ใหม่ (Know-how) การจัดทำแผนงาน กระบวนการ เทคนิควิธีการทำงานเสริมสร้างศักยภาพผู้บริโภค การได้เครือข่ายการทำงานร่วมกันในกระบวนการผู้บริโภค และการเกิดสถาบันที่รวมพลังของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องซึ่งมุ่งเน้นการทำงานที่สร้างพลังผู้บริโภค ในส่วนของขั้นตอนการทำงานของผู้ศึกษาเพื่อพัฒนาชุดโครงการฯนี้จะใช้วิธีการประชุมร่วมกันระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้อง คือ ผู้ศึกษาซึ่งทำหน้าที่ผู้ประสานงานภายนอก ผู้ประสานงานของ สวรส. และนักวิจัยที่ร่วมวิจัย รวมทั้งการร่วมประชุมเพื่อฟังข้อเสนอแนะของคณะกรรมการที่ปรึกษา นอกจากนั้นยังมีการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ การประสานงานกับองค์กรเป้าหมายต่างๆที่เกี่ยวข้องและมีส่วนได้ส่วนเสีย การลงเก็บข้อมูลในพื้นที่ และการจัด Forum ทางวิชาการ ซึ่งขั้นตอนการดำเนินงานดังกล่าวนั้นเป็นเครื่องมือในการดำเนินงานของผู้ศึกษา ตามกิจกรรมการดำเนินงานที่กำหนดให้ตอบตามวัตถุประสงค์ของโครงการทั้ง 5 ประการ โดยมีการดำเนินงานเป็นระยะเวลา 5 ปี ตามแผนการดำเนินงานดังนี้ปีที่ 1 ดำเนินการทบทวนองค์ความรู้ ทบทวนสถานการณ์ผู้บริโภคทั้งในประเทศและต่างประเทศ รวมทั้งการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน อุปสรรคและโอกาสขององค์กรผู้บริโภคต่างๆที่มีอยู่ในประเทศไทย รวมทั้งการประสานงานให้เกิดการสร้างเครือข่ายปีที่ 2 การเสนอวิสัยทัศน์และกำหนดนโยบาย เสนอแผนงาน แผนกลยุทธ์ และเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันขององค์กรเครือข่ายอย่างต่อเนื่องปีที่ 3 พัฒนารูปแบบ แนวทางและกลไก ตลอดจนมาตรการ เทคนิควิธีการดำเนินงานทั้งด้านการเสริมสร้างศักยภาพผู้บริโภคและการคุ้มครองผู้บริโภค รวมทั้งจัดให้มีการสนับสนุนกิจกรรมขององค์กรผู้บริโภคทุกภาคส่วนปีที่ 4 สร้างระบบสนับสนุน ส่งเสริมการพัฒนากระบวนการผู้บริโภคให้มีความเข้มแข็งอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนปีที่ 5 ผลักดันให้เกิดสถาบันเสริมสร้างศักยภาพผู้บริโภคที่ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผู้บริโภคได้เข้ามามีส่วนร่วมโดยเฉพาะภาคประชาสังคม | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.format.extent | 989632 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/octet-stream | en_US |
dc.language | tha | en_US |
dc.language.iso | en_US | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | Consumer Product Safety | en_US |
dc.subject | ความปลอดภัยของผู้บริโภค | en_US |
dc.subject | การคุ้มครองผู้บริโภค -- กฏหมายและระเบียบข้อบังคับ | en_US |
dc.subject | ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) | th_TH |
dc.subject | ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) | th_TH |
dc.title | สังเคราะห์ระบบการเสริมสร้างศักยภาพผู้บริโภค | th_TH |
dc.title.alternative | The consumer empowerment system synthesis research project | en_US |
dc.description.abstractalternative | The consumer empowerment system synthesis research project is part of project series of the action plan of Public Health System Research Institute during 2002 - 2004. The project aims to create an empowerment system of the health community in order to achieve the academic potential and to establish a coordinating network for monitoring advantage-taking of consumers with respect to health products and services. Currently, the situation is that the consumers are greatly affected by both globalization and circumstantial factors that encourage the borderless free trade ideas, promotion of the limitless sales promotion and the exaggerate commercial advertisement. The high trade competition leads to stimulation of sales promotion without considering impact to the customers, whereas the government agencies are confronting problems and limitation of their operations. This due to the absent of clear measures and lack of checking and monitoring systems. Ignorance of the public and NGOs also causes weakness of consumer power. Apart from this, the NGOs that work in the area of consumers' rights are not prepared to work consistently with their own knowledge and clear activities, and they are limited in expanding their operation networks due to inadequacy of budgets and resources. Furthermore, in mass media sector, which is also another party relevant to consumer affairs, it has been found that they have insufficient attention to consumers due to their dependence upon financial support from businesses. And also, for academic circles, most of scholars have very few works, researches and knowledge creating process that promote the consumer power. Due to this situation, 5 objectives for development of The Customer Empowerment System Synthesis Research Project have been set up: 1. To analyze and review the knowledge and situation of consumers and factors relevant to the consumer empowerment; 2. To analyze roles, responsibilities of all parties relevant to the consumer process in order to know the hard and weak points, obstructions and opportunities to empower the consumers; 3. To propose the possible roles and responsibilities of all relevant parties and to offer suitable examples for strengthening and stabilizing of the consumer process; 4. To propose mechanism, policies, tactics and guidelines, including necessary measures for developing of the consumer process to achieve practical effectiveness; 5. To create support, promotion and development systems to empower consumers with continuity and stability; Three goals of the Project development are: to review the knowledge with respect to consumer empowerment process and to create the know-how knowledge; to prepare plans, processes and operational techniques for consumer empowerment; and to form a coordination network in consumer process; and to establish an institution focusing consumer empowerment. The works include to convene meetings amongst relevant parties, i.e. the researchers who act as external coordinators, Health Systems Research Institue’s (HSRI.) researchers and co-researchers and also to hold a forum to give opportunities to consultants to opine. In addition, a workshop will be convened in order to coordinate with relevant target organizations, to collect data in the areas and to gather academic forum. These particular works are tools necessary reaching the objectives. The works are 5 year-period programme with these following stages: Year 1 - To review the knowledge, situation with respect to both domestic and international consumers and to analyze the hard and weak points, obstructions and opportunities of consumer organizations in Thailand including to coordinate formation of the network;Year 2 - To propose vision, to stipulate policies, action plans, strategic plans and to continuously promote the collective learning process of the network organizations; Year 3 - To develop patterns, guidelines and mechanisms, including measures and techniques of implementation in order to empower and protect consumers and to promote activities of all consumer organizations;Year 4 - To create support and promote systems to develop the processes in order to strengthen consumers with continuity and stability;Year 5 - To promote establishment of a consumer empowerment institution that allows the participation of all parties relevant to consumer affairs, especially the public sector. | en_US |
dc.identifier.callno | WA288 ค961 2546 | en_US |
dc.identifier.contactno | 46ค057 | en_US |
dc.subject.keyword | Consumer Empowerment | en_US |
dc.subject.keyword | Consumer Protection | en_US |
dc.subject.keyword | การเสริมสร้างศักยภาพผู้บริโภค | en_US |
dc.subject.keyword | การคุ้มครองผู้บริโภค | en_US |
.custom.citation | กมลทิพย์ แจ่มจันทร์. "สังเคราะห์ระบบการเสริมสร้างศักยภาพผู้บริโภค." 2546. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2044">http://hdl.handle.net/11228/2044</a>. | |
.custom.total_download | 130 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 0 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 0 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Research Reports [2433]
งานวิจัย