Social organizations and developments of the community : a case study of the community of Tambon Nakha, Amphoe Vapipathum, Mahasarakham province
dc.contributor.author | ฉลาด จันทรสมบัติ | en_US |
dc.contributor.author | Chalad Chantrasombat | en_US |
dc.contributor.author | ถนอม ตะนา | en_US |
dc.contributor.author | สะอาด บาริศรี | en_US |
dc.contributor.author | ประนอม เกตุวงศ์ | en_US |
dc.contributor.author | สันติ หัดที | en_US |
dc.coverage.spatial | th | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-12-04T05:24:12Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-17T00:37:38Z | |
dc.date.available | 2008-12-04T05:24:12Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-17T00:37:38Z | |
dc.date.issued | 2543 | en_US |
dc.identifier.other | hs0713 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/2050 | en_US |
dc.description.abstract | องค์กรทางสังคมและพัฒนาความเป็นประชาคม: กรณีศึกษาประชาคมตำบลนาข่า อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาพัฒนาการขององค์กรต่าง ๆ ที่มีบทบาทการทำงานในลักษณะประชาคม 2) เพื่อศึกษาปัจจัยและเงื่อนไขที่ทำให้องค์กรต่าง ๆ ในชุมชนที่มีความเข้มแข็งและมีลักษณะความเป็นประชาคม 3) เพื่อศึกษาการก่อตัวและพัฒนาความเป็นประชาคม ตามกรอบแนวคิดการวิจัยที่เป็นปัจจัยและเงื่อนไขที่ทำให้องค์กรต่าง ๆ ทางสังคมมีความเข้มแข็งหรือลักษณะความเป็นประชาคม คือ (1) โอกาสและเวทีที่เป็นแหล่งพบปะเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ตลอดจนการรวมกลุ่ม (2) กระบวนการเรียนรู้และตัดสินใจในการทำงานร่วมกันระหว่างภาคต่าง ๆ (3) ลักษณะของความเป็นผู้นำและภาวะผู้นำในชุมชน (4) เครื่องมือหรือวิธีการติดต่อสื่อสาร (5) ความรู้สึกนึกคิดของประชาชน โดยเฉพาะระบบความคิดในการพึ่งตนเอง การมีส่วนร่วม (6) กิจกรรมที่ทำงานร่วมกันและความสัมพันธ์ระหว่างคนในชุมชนกับสถาบันต่าง ๆ ในชุมชน (7) ความสามัคคีและความร่วมมือระหว่างองค์กรต่าง ๆ ทางสังคมในหมู่คณะ ผลการศึกษา พบว่า กิจกรรมกลุ่มที่เกิดขึ้นก่อนปี พ.ศ. 2527 โดยภาครัฐและเอกชนเข้ามาส่งเสริมและกระตุ้น มีทั้งด้านพัฒนาคุณภาพชีวิต สาธารณสุข สวัสดิการสังคม เงินทุน สตรี เยาวชน อาชีพ ร้านค้าชุมชน ธนาคารข้าว หลังปี พ.ศ. 2527 เป็นกลุ่มสาธารณูปโภค สวัสดิการ กองทุนออมทรัพย์ เครดิตยูเนี่ยน โรงสีชุมชน วัฒนธรรมบุญข้าวจี่ ธนาคารโค – กระบือ ทอผ้าไหม ซึ่งเป็นการจัดตั้งทั้งโดยรัฐ เอกชน และชุมชนจัดตั้ง ลักษณะของกิจกรรมส่วนใหญ่เป็นไปในลักษณะพึ่งตนเอง ส่วนภาครัฐเข้าไปช่วยเหลือน้อยมาก แต่ก็มีบางกลุ่มที่พึ่งรัฐ เช่น กองทุนหมู่บ้าน ภาคเอกชน เช่น ส่งเสริมกิจกรรมธนาคารโค – กระบือ ปี พ.ศ. 2541 – 2542 โดยมูลนิธิเกษตรกรไทย โรงสีชุมชน กลุ่มทอผ้าไหม ดอกไม้จันทน์ และศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์ในวัด จากชุมชนวังจาน โดยสำนักงานกองทุนเพื่อชุมชน (SIF) ซึ่งกระบวนการเรียนรู้และตัดสินใจ มีการเรียนรู้ร่วมกันภายในกลุ่ม มีการประนีประนอมสูง มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเป็นเชิงเครือญาติและอาชีพเดียวกัน มีลักษณะการพึ่งพาอาศัยกันในหมู่บ้านและชุมชน ส่วนระดับกว้างจะเป็นกิจกรรมทางประเพณีบุญข้าวจี่และบุญต่าง ๆ และทุนทางสังคม เช่น ธนาคารโค – กระบือของกลุ่มลอมคอม สามารถครอบคลุมทั้งตำบล พบจากกิจกรรมบุญข้าวจี่ กีฬาเยาวชนระหว่างกลุ่มกับ อบต. เป็นลักษณะ อบต. ให้งบประมาณสนับสนุนกลุ่ม ด้านการเมืองท้องถิ่นเป็นลักษณะเครือญาติ โดยส่วนรวมมีจิตสำนึกสาธารณะร่วมกันสูง มีการแบ่งปันผลประโยชน์ให้แก่ส่วนรวม ทั้งในระดับตำบล คือ กิจกรรมกลุ่มและวัฒนธรรมบุญข้าวจี่ ระดับกลุ่มชุมชน ได้แก่ กลุ่มออมทรัพย์ ร้านค้า โรงสีชุมชนของชุมชนวังจาน ซึ่งสามารถให้บริการทั้งชุมชน หมู่บ้านในตำบลและหมู่บ้านที่อยู่นอกตำบล | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.format.extent | 9258199 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/octet-stream | en_US |
dc.language | tha | en_US |
dc.language.iso | en_US | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | Mahasarakham(Vapipathum) | en_US |
dc.subject | ประชาสังคมด้านสุขภาพ | en_US |
dc.subject | การมีส่วนร่วมของชุมชน | en_US |
dc.subject | มหาสารคาม | en_US |
dc.title | องค์กรทางสังคมและพัฒนาการความเป็นประชาคม : กรณีศึกษาประชาคมตำบลนาข่า อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม | en_US |
dc.title.alternative | Social organizations and developments of the community : a case study of the community of Tambon Nakha, Amphoe Vapipathum, Mahasarakham province | en_US |
dc.description.abstractalternative | Social Organizations and Developments of the Community: a Case Study of the Community of Tambon Nakha, Amphoe Wapipathum, Mahasarakham Province Three major purposes of this study were: 1) to examine developments of various organizations with working roles in community characteristics, 2) to investigate factors and conditions that strengthened different organizations in the community and had being community characteristics, and 3) to examine formations and developments of being community. The study was conducted according to the conceptual frameworks which were factors and conditions strengthening different social organizations or having being community characteristics. These included: (1) opportunities and stages which were placed to meet and exchange learning with one another as well as forming groups, (2) the process of learning and decision – making in working together among different sectors, (3) leadership styles and leadership in the community, (4) equipment or communication techniques, (5) feelings and thoughts of the people, especially the system of ideas in self - dependence and participation, (6) activities for working together and relationships between people in the community and various institutions in the community, and (7) unity and cooperation among different social organizations in these groups. The study revealed the following. Group activities that occurred before 1984, as promoted and urged by both state and private sectors, were in these aspects: development of quality of life, public health, social welfare, funds, women, youths, careers, community shops, and rice banks. After 1984, there were these groups: public utilities, welfare, funds, savings, credit unions, community rice mills, Bun Khao Chi Merit – making culture, cattle bank, and silk – cloth weaving. These groups were established by state, private and community sectors. Most activity characteristics were in the self – dependence from while the state sector support partly. However some groups were dependent upon the state sectors such as village funds. The private sector promoted such activities as cattle banks during 1998 – 1999 by the Thai Farmers’ Foundation, community rice mills, silk – cloth weaving and paper sandalwood flowers groups, and centers for preschool child development in the monastery from Wang Chan community by the office of fund for community. The process of learning and decision - making included: learning together within the group, high compromises, kinship interactions among persons and the same career, and being dependent on one another in the village and the community. However, in width, there were traditional activities of Bun Khao Chi merit – making (by offering baked glutinous rice to monks) and social funds such as the cattle band of the Lomkhom Group which could cover all the tambon (sub – district). Youth sports between these groups and the tambon administrative organization could be found in the Bun Khao Chi activity. It appeared that the tambon administrative organization supported groups with budgets. In local politics, it was in the kinship type as a whole by having high public sense together, having dividends of benefits for the public at both tambon level, i.e. group activities and the Bun Khao Chi merit – making, and at the community group level which included saving groups, shops, community rice mills of Wang Chan community which could give services to the community, villages in and outside the tambon. | en_US |
dc.identifier.callno | HM101 ฉ172อ 2543 | en_US |
dc.subject.keyword | Community Organization | en_US |
dc.subject.keyword | Community Empowerment | en_US |
dc.subject.keyword | Civil Society | en_US |
dc.subject.keyword | Tambon Administrative Organization | en_US |
dc.subject.keyword | องค์การบริหารส่วนตำบล | en_US |
dc.subject.keyword | องค์กรชุมชน | en_US |
dc.subject.keyword | ความเข้มแข็งชุมชน | en_US |
dc.subject.keyword | ประชาคม | en_US |
.custom.citation | ฉลาด จันทรสมบัติ, Chalad Chantrasombat, ถนอม ตะนา, สะอาด บาริศรี, ประนอม เกตุวงศ์ and สันติ หัดที. "องค์กรทางสังคมและพัฒนาการความเป็นประชาคม : กรณีศึกษาประชาคมตำบลนาข่า อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม." 2543. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2050">http://hdl.handle.net/11228/2050</a>. | |
.custom.total_download | 87 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 2 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 0 |
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
This item appears in the following Collection(s)
-
Research Reports [2394]
งานวิจัย