Show simple item record

Right to health : From liberalism to communitarianism?

dc.contributor.authorศรีประภา เพชรมีศรีth_TH
dc.contributor.authorSriprapha Petcharamesreeen_US
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:24:14Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:40:08Z
dc.date.available2008-12-04T05:24:14Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:40:08Z
dc.date.issued2548en_US
dc.identifier.otherhs1177en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2054en_US
dc.description.abstractงานวิจัย สิทธิในสุขภาพ : จากเสรีนิยม สู่ชุมชนนิยม มีเป้าหมายที่การพิเคราะห์สาระของสิทธิมนุษยชนในแนวคิดทฤษฎีเสรีนิยมและชุมชนนิยม การศึกษาพยายามพิจารณาว่าจากสมมุติฐานที่มาที่แตกต่างกัน คือในขณะที่เสรีนิยมเน้นเสรีภาพของปัจเจกและความเท่าเทียม ชุมชนนิยม ยืนยันสิทธิของกลุ่มและชุมชนในที่สุดทั้งสองแนวคิดบรรจบกันหรือไม่ และสิทธิในสุขภาพ ถูกจัดวางอย่างไรในข้อถกเถียงในเชิงทฤษฎีระหว่างเสรีนิยมกับชุมชนนิยม แนวคิดทั้งสองส่วนถูกนำมาใช้อย่างไรในกระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพในประเทศไทยอาจกล่าวได้ว่าแนวคิดและระบบสิทธิมนุษยชนที่เข้าใจและยอมรับรับรองกันแพร่หลายในปัจจุบัน ได้รับอิทธิพลจากแนวคิดปรัชญาการเมืองตะวันตก โดยพื้นฐานที่ว่าโดยกฏธรรมชาติ(วิสัย)มนุษย์มีเหตุผล และมีสิทธิเพียงเพราะเขาเป็นมนุษย์คนหนื่ง ในแนวคิดเสรีนิยม เพื่อค้ำประกันสิทธิในชีวิต เสรีภาพ และทรัพย์สิน อันเป็นสิทธิที่ติดตัวมาของมนุษย์ รัฐต้องไม่เข้าไปแทรกแซง ในแนวคิดนี้ สิทธิของปัจเจก โดยเฉพาะสิทธิทางการเมือง สิทธิพลเมืองต้องได้รับการเคารพโดยรัฐ สิทธินี้เรียกว่าสิทธิเชิงลบ อย่างไรก็ตาม นักคิดเสรีนิยมกลุ่มหนึ่งมองว่า เสรีภาพเพียงอย่างเดียว ก่อให้เกิดความไม่เท่าเทียม การบรรลุความเป็นอิสระของปัจเจกไม่ใช่การจำกัดบทบาทของรัฐ แต่รัฐต้องจัดหาและประกันสิทธิบางประการให้แก่ปัจเจกเพื่อให้เกิดความเท่าเทียม สิทธินี้ เรียกว่าสิทธิเชิงบวก หรือสิทธิสวัสดิการ ซึ่งหมายรวมถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ดังนั้น ปัจเจกจะบรรลุถึงสิทธิทั้งหลายได้ก็ต้องมีทั้งเสรีภาพและการสนองความต้องการพื้นฐาน สิทธิทั้งสองประเภท จึงมิอาจแบ่งแยกได้หากในแนวคิดเสรีนิยม มีเพียงปัจเจกที่มีฐานะเป็นผู้ทรงสิทธิ นักคิดค่ายชุมชนนิยมมองว่า ชุมชน/กลุ่ม เป็นผู้ทรงสิทธิได้เช่นกันและสิทธินั้นมีหลายประการ ชุมชน/สังคม อาจเป็น “บุคคล” ได้โดยตัวมันเอง สามารถมีความสัมพันธ์และกระทำการได้ การยืนยันสิทธิของปัจเจกเป็นเรื่องที่ทำได้แต่ต้องไม่แปลกแยกจากสิทธิของชุมชนกล่าวสำหรับสิทธิในสุขภาพ ซึ่งเป็นสิทธิที่ได้รับการรับรองทั้งโดยกฎหมายและศีลธรรม ถือเป็นสิทธิขั้นพื้นฐาน และโดยทั่วไปเป็นสิทธิของปัจเจก เป็นสิทธิในอธิปไตยเหนือชีวิต ร่างกาย และสิทธิที่จะบรรลุความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิในสุขภาพจึงเกี่ยวโยงกับสิทธิในแนวคิดเสรีนิยมทั้งสองประเภทเป็นอย่างสูง อย่างไรก็ตาม การสร้างเงื่อนใขอันจำเป็นเพื่อให้ปัจเจกบรรลุถึงสิทธิในสุขภาพอย่างสมบูรณ์ได้ สิทธิของชุมชน ต้องได้รับการเคารพปกป้อง ในประเทศไทย การแพทย์สมัยใหม่เปิดโอกาสให้รัฐเข้ามาควบคุมชีวิตทั้งของปัจเจกและชุมชน ซึ่งนั่นหมายถึง สิทธิในสุขภาพถูกกำกับโดยรัฐ ความพยายามในการปฏิรูประบบสุขภาพซึ่งโดยทั่วไปอิงอยู่กับสิทธิในแนวคิดเสรีนิยม และบูรณาการเข้ากับสิทธิของชุมชน จำต้องจัดความสัมพันธ์ระหว่างปัจเจก สังคม/ชุมชน และรัฐ ใหม่ รัฐต้องส่งเสริมสิทธิทั้งสองประเภทของทั้งปัจเจกและชุมชน โดยเฉพาะ สิทธิในการมีส่วนร่วมตัดสินใจในส่วนที่จะมีผลกระทบต่อสิทธิในสุขภาพth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent1208886 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Lawen_US
dc.subjectHuman Righten_US
dc.subjectกฎหมายสาธารณสุขen_US
dc.subjectสิทธิมนุษยชนen_US
dc.subjectปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH)th_TH
dc.titleสิทธิในสุขภาพ : จากเสรีนิยม สู่ชุมชนนิยมth_TH
dc.title.alternativeRight to health : From liberalism to communitarianism?en_US
dc.description.abstractalternativeThis research examines the contents of human rights in liberal and communitarian theories. While liberalism emphasizes liberty and equality of individuals, communitarianism claims the very rights of peoples and community. The question is whether rights holders can be both individuals and/ or a community. The research discusses the various on-going debates between liberal and communitarian theorists relating to the issues of human rights and puts this in context with the right to health, in particular, how liberal and communitarian concepts have been used in the process of health reform in Thailand.It is evident that the present concepts and systems of human rights have been significantly influenced by Western political philosophies. In classical liberal theory, in order for the rights of individuals to be protected, the State must refrain from intervention. Negative rights – political and civil rights - must be respected. This concept has been argued against by other liberal theorists who consider that liberty brings about inequality and injustice. For the individuals to realize their very basic rights, the State must fulfill its obligations by guaranteeing some rights which enable individuals to maintain dignity and well-being. Positive rights - economic, social and cultural rights, or welfare rights – require positive action by the State. Rights are therefore indivisible and interdependent.Liberalists consider only individuals are rights holders; however, the communitarians argue that communities, groups and society can be also holder of rights; and those rights demand obligations by the State. Communities and societies, by virtue of their being a “person” by themselves, can act and have relationships to rights. In their view, insisting on individual rights is acceptable under the condition that the rights of community are recognized.The right to health, a very basic human right, is morally and legally recognized in all societies. The right to health is in general an individual’s right, arising from the sovereign right one has over one’s life and mind in particular. Well being and living standard of individuals can be realized only if both positive and negative rights are respected and fulfilled. In general, the right to health is closely related to liberal concept of rights. There is, however, an increasing trend to consider that necessary conditions for an individual’s well-being and right to health can be materialized only if community rights are respected and protected. In Thailand, the introduction of modern medicine allows the State to control the rights and life of both individuals and communities. The rights to health have been, for decades, determined by the State. The health reform process initiated some years ago is based mainly on liberal concepts, but while attempting to integrate communitarian concepts. For the success of health reform, the power relationships between the State, individuals, and community must be revisited. Rights to meaningful participation of both individuals and community should be the key to health reform. In order to achieve this a paradigm shift must occur in the health system of Thailand.en_US
dc.identifier.callnoW32 ศ223ส 2548en_US
dc.identifier.contactno45ค090en_US
dc.subject.keywordRight to healthen_US
dc.subject.keywordliberalismen_US
dc.subject.keywordindividuals rightsen_US
dc.subject.keywordcommunitarianismen_US
dc.subject.keywordcommunity rightsen_US
dc.subject.keywordliberalcommunitarianismen_US
dc.subject.keywordสิทธิในสุขภาพen_US
dc.subject.keywordเสรีนิยมen_US
dc.subject.keywordสิทธิปัจเจกen_US
dc.subject.keywordชุมชนนิยมen_US
dc.subject.keywordสิทธิชุมชนen_US
dc.subject.keywordชุมชนเสรีนิยมen_US
.custom.citationศรีประภา เพชรมีศรี and Sriprapha Petcharamesree. "สิทธิในสุขภาพ : จากเสรีนิยม สู่ชุมชนนิยม." 2548. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2054">http://hdl.handle.net/11228/2054</a>.
.custom.total_download102
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year5
.custom.downloaded_fiscal_year1

Fulltext
Icon
Name: hs1177.pdf
Size: 1.253Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record