dc.contributor.author | ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย | en_US |
dc.contributor.author | Supasit Pannarunothai | en_US |
dc.contributor.author | เรณู ศรีสมิต | en_US |
dc.contributor.author | สุภัค ปิติภากร | en_US |
dc.contributor.author | กมล วีระประดิษฐ์ | en_US |
dc.contributor.author | บุญรัตน์ วราชิต | en_US |
dc.coverage.spatial | th | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-12-04T05:24:29Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-17T00:40:43Z | |
dc.date.available | 2008-12-04T05:24:29Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-17T00:40:43Z | |
dc.date.issued | 2544 | en_US |
dc.identifier.other | hs0801 | en-EN |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/2084 | en_US |
dc.description.abstract | การบริหารการเงินการคลังโรงพยาบาลรัฐ : การกระจายอำนาจการบริหารงบประมาณคลินิกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การวิจัยและพัฒนา เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (action research) ตั้งบนสมมติฐานว่า การกระจายอำนาจการบริหารงบประมาณทางคลินิก แก่หัวหน้ากลุ่มคลินิกบริการ และจัดรูปแบบความสัมพันธ์ของหน่วยงานในโรงพยาบาลเป็น ผู้ซื้อ-ผู้ขายบริการ จะทำให้บริการของโรงพยาบาลมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยที่คุณภาพของการบริการไม่ลดลง ในความสัมพันธ์เช่นนี้ จะเปลี่ยนพฤติกรรมการบริหารทรัพยากรโรงพยาบาลจากที่ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเป็นผู้ตัดสินใจแต่เพียงผู้เดียว กระจายอำนาจตัดสินใจงบประมาณทางคลินิกให้แก่หัวหน้ากลุ่มงานคลินิกบริการ ช่วยบริหารงบประมาณโดยซื้อบริการจากหน่วยขายบริการแทนผู้อำนวยการ รวมทั้งเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการรักษาของแพทย์ที่อยู่ในกลุ่มซื้อบริการ หน่วยขายบริการที่ทดลองในขั้นแรกนี้ ได้แก่ กลุ่มงานเภสัชกรรม รังสีวิทยา ชันสูตร ห้องผ่าตัดและวิสัญญี การวิจัยนี้ดำเนินการในโรงพยาบาล 3 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ หาดใหญ่ และเสนา โดยผู้อำนวยการโรงพยาบาลกระจายอำนาจการบริหารงบประมาณรายจ่ายของการดูแลผู้ป่วยใน (รายจ่ายด้านยา ชันสูตร รังสีวิทยา ผ่าตัด) ให้แก่หัวหน้ากลุ่มคลินิกบริการ ในปีงบประมาณ 2543 หัวหน้ากลุ่มคลินิกบริการ ใช้อำนาจการบริหารงบประมาณกับใช้ระบบข้อมูล (ที่พัฒนาในการวิจัย) ในด้านประสิทธิภาพและคุณภาพของบริการในกลุ่มงาน บริหารจัดการกับพฤติกรรมการรักษาพยาบาลของแพทย์ในกลุ่มงาน แรงจูงใจของกลุ่มคลินิกบริการ (ผู้ซื้อบริการ) ในการปรับพฤติกรรมการรักษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ใช้แรงจูงใจทางการเงินเป็นหลัก คือการให้เงินตอบแทนเป็นกลุ่มงาน และจัดสรรต่อเป็นรายบุคคล ตามข้อตกลงที่แตกต่างกันในแต่ละโรงพยาบาล แทนที่จะเป็นการตัดสินใจจากผู้อำนวยการคนเดียว ตัวชี้วัดประสิทธิภาพของผลงานใช้เกณฑ์หลายประการ ได้แก่ รายจ่ายที่ประหยัดได้จากงบประมาณคลินิกที่ได้รับจัดสรรล่วงหน้า วันนอนในโรงพยาบาลเมื่อเทียบกับวันนอนมาตรฐาน ภาระงานต่อแพทย์ เช่น ค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ต่อแพทย์ในแต่ละแผนก การวิจัยนี้พิสูจน์ว่า การเพิ่มประสิทธิภาพด้วยระบบบริหารโรงพยาบาลนั้น มีความซับซ้อนมาก โดยเฉพาะมิติที่ซับซ้อนของข้อมูลโรงพยาบาล ระบบข้อมูลในโรงพยาบาลมักมีข้อมูลที่นำมาใช้ประเมินประสิทธิภาพระหว่างแผนกได้ไม่ดีนัก การวิจัยนี้พบว่า ข้อมูลที่มีประโยชน์ต่อการประเมินประสิทธิภาพ ได้แก่ ข้อมูลทางคลินิกของผู้ป่วยในที่ใช้จัดกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม (DRG) ต้นทุนของหน่วยย่อยในโรงพยาบาลตามระบบบัญชีต้นทุน ข้อมูลการให้บริการแก่ผู้ป่วยแต่ละราย อย่างไรก็ตาม การตัดสินใจให้แรงจูงใจต้องประกอบด้วยข้อมูลด้านอื่นอีก เช่นภาระงานต่อแพทย์ ผลการวิจัยนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนานโยบายให้โรงพยาบาลรัฐเป็นอิสระต่อไป | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.format.extent | 1251788 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/octet-stream | en_US |
dc.language | tha | en_US |
dc.language.iso | en_US | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | Hospital Administration | en_US |
dc.subject | การบริหารสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | การกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) | th_TH |
dc.subject | ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) | th_TH |
dc.title | การบริหารการเงินการคลังโรงพยาบาลรัฐ : การกระจายอำนาจการบริหารงบประมาณคลินิกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ | en_US |
dc.title.alternative | Hospital financing : clinical budget holding to increase efficiency in provincial hospitals | en_US |
dc.description.abstractalternative | Hospital Financing: Clinical Budget Holding to Increase Efficiency in Provincial Hospitals Inpatient care is the most expensive health expenditure in almost all countries with limited measures to improve efficiency. This action research aimed to test the model to increase hospital efficiency. Under the assumption that if clinical directorates were given the authority to manage clinical budget, efficiency was likely to occur. Three provincial hospitals were recruited to this action research, a purchaser-provider model was created. This model transferred management responsibility from the hospital director to the clinical directorates. They played the purchaser role by holding their own clinical budgets. Pharmacy, radiology, laboratory and operating theatre acted as providers in this model. It was expected that clinician behaviours would change, because if they could save their budget in treating their patients, the unspent money would be retained and could be used for their development plan. However, the quality of care should not be compromised by this quasi-experiment. Firstly, the incentives of clinical departments to be efficient focused mainly on financial measurement; i.e. the expected budget by diagnosis related group of each department and cost accounting data versus the actual spending by billing data. After a year of implementation, the clinicians argued that other indicators should be taken into consideration because of the weakness of financial data. Complementary data included lengths of stay compared by DRG, physician workload by length of stay and DRG relative weight. This action research proved that the measurements for hospital efficiency were complex. Quality audit had to be in place but the activity was still too early to be a measurement that could link to performance of each department. Client satisfaction had not been measured in this study since the individual clients were too far from the tested model. Physicians accepted that DRG was a good measure of efficiency but had to be complemented with other information. Findings of this research should be used to develop management model in the decentralised autonomous hospital. Clinical directorates need more training in searching for hospital efficiency and manage the changes. Information systems must give accurate and comprehensive aspects of efficiency as well as quality. | en_US |
dc.identifier.callno | W74 ศ735ก 2544 | en_US |
dc.subject.keyword | การบริหารโรงพยาบาล | en_US |
dc.subject.keyword | บริการสุขภาพ | en_US |
dc.subject.keyword | ระบบการบริหารโรงพยาบาล | en_US |
.custom.citation | ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย, Supasit Pannarunothai, เรณู ศรีสมิต, สุภัค ปิติภากร, กมล วีระประดิษฐ์ and บุญรัตน์ วราชิต. "การบริหารการเงินการคลังโรงพยาบาลรัฐ : การกระจายอำนาจการบริหารงบประมาณคลินิกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ." 2544. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2084">http://hdl.handle.net/11228/2084</a>. | |
.custom.total_download | 419 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 1 | |
.custom.downloaded_this_year | 34 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 6 | |