dc.contributor.author | วิโรจน์ เจียมจรัสรังษี | th_TH |
dc.contributor.author | Wiroj Jiamjarasrangsri | en_US |
dc.coverage.spatial | th | en_US |
dc.date.accessioned | 2008-12-04T05:24:36Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-17T00:18:43Z | |
dc.date.available | 2008-12-04T05:24:36Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-17T00:18:43Z | |
dc.date.issued | 2550 | en_US |
dc.identifier.other | hs1351 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/2100 | en_US |
dc.description.abstract | การที่ประชากรมีอายุยืนขึ้นทำให้โรคเรื้อรังที่เป็นผลจากการเสื่อมของสภาพร่างกาย เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคปอดอักเสบเรื้อรัง เป็นต้น กลายเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญอย่างมากในปัจจุบัน ทั้งในประเทศที่พัฒนาแล้วและประเทศกำลังพัฒนา แม้ว่าจะมีความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีและวิทยาการทางการแพทย์อย่างมากในเวลาเดียวกัน แต่กลับพบว่ามีประชากรที่มีโรคเรื้อรังต่างๆ มากกว่าร้อยละ 50 ที่ได้รับการดูแลรักษาต่ำกว่ามาตรฐาน ผลการสำรวจในประเทศสหรัฐอเมริกาเมื่อปี ค.ศ. 1995 พบว่า ประชากรราว 100 ล้านคน มีโรคเรื้อรังอย่างน้อย 1 โรค โดยเฉพาะในประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่พบว่าประมาณร้อยละ 86 มีโรคประจำตัวเรื้อรังตั้งแต่ 1 โรคขึ้นไป และมีถึง 1 ใน 4 ที่มีโรคประจำตัวเรื้อรังตั้งแต่ 4 โรคขึ้นไป แต่ผลการสำรวจเกี่ยวกับการดูแลรักษา มีประชากรที่มีโรคเรื้อรังเหล่านี้มากกว่าร้อยละ 50 ที่ได้รับการดูแลรักษาต่ำกว่ามาตรฐาน วงวิชาการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศที่พัฒนาแล้วได้เล็งเห็นปัญหานี้มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1970 แต่มีความตื่นตัวอย่างสูงและเห็นความจำเป็นที่จะต้องดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหานี้อย่างจริงจัง โดย Robert Wood Johnson Foundation ได้มีการจัดตั้งคณะผู้เชี่ยวชาญและให้ทุนสนับสนุนด้านการวิจัยและพัฒนาต้นแบบการดูแลผู้ป่วยเรื้อรังขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากวงวิชาการด้านการแพทย์เล็งเห็นว่าสิ่งที่เกิดขึ้นมิใช่เป็นเพียง “ช่องว่าง” (Gap) แต่เป็น “หุบเหว”ของความบกพร่องด้านคุณภาพการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังเลยทีเดียว และการมาตรการเสริมต่อใดๆ เข้ากับระบบการดูแลผู้ป่วยในปัจจุบันซึ่งเหมาะกับโรคเฉียบพลันไม่เป็นการเพียงพอ แต่จะต้องมีการปฏิรูปหรือออกแบบรูปแบบบริการสุขภาพแบบใหม่เพื่อรองรับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังขึ้น | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language | tha | en_US |
dc.language.iso | en_US | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | Health Prevention and Control | en_US |
dc.subject | Health Service Systems | en_US |
dc.subject | Chronic Disease | en_US |
dc.subject | Diabetes Mellitus | en_US |
dc.subject | การป้องกันและควบคุมโรค | th_TH |
dc.subject | ระบบบริการสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | โรคเรื้อรัง | th_TH |
dc.subject | ผู้ป่วยเบาหวาน | th_TH |
dc.subject | การบริการสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) | th_TH |
dc.title | ต้นแบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | th_TH |
dc.title.alternative | Chronic Care Model หรือ CCM | en_US |
dc.identifier.callno | WK810 ว596ต 2550 | en_US |
dc.identifier.contactno | 50ข059 | en_US |
dc.subject.keyword | Chronic Care Model | en_US |
dc.subject.keyword | ต้นแบบการดูแล | th_TH |
dc.subject.keyword | โรคเบาหวาน | th_TH |
.custom.citation | วิโรจน์ เจียมจรัสรังษี and Wiroj Jiamjarasrangsri. "ต้นแบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง." 2550. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2100">http://hdl.handle.net/11228/2100</a>. | |
.custom.total_download | 877 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 1 | |
.custom.downloaded_this_year | 9 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 1 | |