Show simple item record

Enlargement of safety promotion system development in the school buses at rural areas of Chiang Rai province

dc.contributor.authorงามนิตย์ ราชกิจth_TH
dc.contributor.authorNgamnith Ratchakiten_US
dc.contributor.authorจรินทร์ อินทร์สุวรรณโณth_TH
dc.contributor.authorชาญชัย กีฬาแปงth_TH
dc.contributor.authorชลลดา สายสืบth_TH
dc.coverage.spatialthen_US
dc.date.accessioned2008-12-04T05:24:47Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:43:58Z
dc.date.available2008-12-04T05:24:47Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:43:58Z
dc.date.issued2547en_US
dc.identifier.otherhs1153en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2118en_US
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อขยายเครือข่ายการดำเนินงานสร้างเสริมความปลอดภัยในรถรับส่งนักเรียน ในเขตชนบทของจังหวัดเชียงราย พื้นที่ 4 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเทิน อำเภอพาน อำเภอแม่สรวย และอำเภอแม่จัน โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของหน่วยงานพหุภาคี ได้แก่ หน่วยงานตำรวจ ขนส่ง สาธารณสุข สถานศึกษา สื่อมวลชน และผู้ประกอบการรถรับส่งนักเรียน ทำการศึกษาระหว่างเดือนมิถุนายน 2546 ถึงกรกฎาคม 2547 เป็นเวลา 1 ปี ดำเนินการศึกษาในกลุ่มตัวอย่างผู้ขับขี่รถรับส่งนักเรียนทั้งหมด 405 ราย ระยะแรกเก็บข้อมูลโดยการใช้แบบสอบถาม การจัดสนทนากลุ่มเฝ้าระวังพฤติกรรมของบุคคลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องนำข้อมูลมาวิเคราะห์ วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา ระยะที่ 2 เป็นการดำเนินกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาการพัฒนาระบบความปลอดภัย และประเมินผลวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ร้อยละ 86.4 อายุเฉลี่ย 41.6 ปี มีระดับการศึกษาระดับประถมศึกษาร้อยละ 59.8 รองลงมาเป็นระดับมัธยมศึกษา ร้อยละ 27.9 รถรับส่งนักเรียน ในเขตชนบทส่วนใหญ่เป็นรถกระบะ ร้อยละ 55.3 รองลงมาเป็นรถตู้ ร้อยละ 34.8 ส่วนใหญ่เป็นรถของตนเอง ร้อยละ 95.6 มีประสบการณ์ขับรถรับส่งนักเรียน เฉลี่ย 4.9 ปี สภาพรถมีการดัดแปลงเบาะ หลังคา ร้อยละ 29.9 ส่วนใหญ่รับส่งนักเรียน จำนวน 1 โรงเรียน นักเรียนผู้โดยสารส่วนใหญ่ เป็นระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 85.7 ผู้ขับขี่มีการสูบบุหรี่ ร้อยละ 9.9 ดื่มสุรา ร้อยละ 1.6 และตรวจสุขภาพประจำปี ร้อยละ 56.8 การดำเนินงานในการแก้ไขปัญหา โดยการจัดอบรมวิชาการด้านกฎระเบียบ จราจร จริยธรรม และการปฐมพยาบาลเบื้องต้น การตรวจสภาพรถ และการตรวจสภาพผู้ขับขี่รถรับส่งนักเรียน ตรวจปัสสาวะหาสารแอมเฟตามิน ผลปกติทุกราย 100 % ในรอบ 1 ปี พบการเกิดอุบัติเหตุในพื้นที่ อ.เทิง เพียง 1 อำเภอ จำนวน 3 ราย บาดเจ็บ 3 คน ซึ่งลดลงจากก่อนดำเนินโครงการที่พบการเกิดอุบัติเหตุ 13 รายเป็นอย่างมาก ผลการดำเนินงานเมื่อครบ 1 ปี พบว่าทุกอำเภอในพื้นที่วิจัยมีการจัดกิจกรรมสร้างเสริม ความปลอดภัย ในรถรับส่งนักเรียน โดยการมีส่วนร่วมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้ขับขี่รถรับส่ง นักเรียนเกิดการรวมกลุ่ม ในรูปชมรมรถรับส่งนักเรียนทั้ง 4 อำเภอ นักเรียนผู้โดยสารปลอดภัยจากเดิมมากขึ้น การดำเนินงานเชิงรุกดังกล่าว ก่อให้เกิดระบบการป้องกันก่อนการเกิดอุบัติเหตุ ส่งผลให้ การเกิดอุบัติเหตุ ลดลง และก่อให้เกิดการขยายผลการดำเนินงานเชื่อมโยงในระดับโซนมากขึ้นth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.languagethaen_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงรายen_US
dc.subjectHealth Promotionen_US
dc.subjectAccident, Traffic--Evaluation Studieen_US
dc.subjectการส่งเสริมสุขภาพen_US
dc.subjectอุบัติเหตุจราจรen_US
dc.subjectปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH)th_TH
dc.titleการขยายผลการพัฒนาระบบสร้างเสริมความปลอดภัยรถรับส่งนักเรียนในเขตชนบท จังหวัดเชียงรายth_TH
dc.title.alternativeEnlargement of safety promotion system development in the school buses at rural areas of Chiang Rai provinceen_US
dc.description.abstractalternativeThis study aims to enlargement of safety promotion system development in the school buses at rural areas of Chiang Rai province in the 4 districts. Study population are 408 school bus drivers. Implemented activities and data collection was concurrently done in two periods of time. Questionnaires, focus group discussion and behavioral surveillance are used at the first period. Activities including physical check-up, meeting, school bus check-up for developing the school bus safety system were conducted at the second period. Results Most of school bus drivers were male (86.4%). Mean age was 41.6 years.59.8% of them were primary school education level background and 27.9% were juniors high school. 9.9% of them were smokers, 1.6% were drinkers About half of them (56.8%) had annually physical check-up and 12.4% had health problem. Fifty-five percents of school buses were pickup truck and 34.8% were van. Most of drivers have their own school buses and had 4.9 years (median) driving experience. Thirty percents of school bus (roof, seats) were modified and each school bus was used for transferred students in one school. Most of passengers were junior high school students (85.75%). The capacity building that related to traffic law, ethical and primary health care was developed and found that the school bus accidents were decreased when compared to the previous period. Conclusion The promotion of school bus safety and the collaboration of governments organization, school bus driver association and school bus network led to declination of traffic accidents.en_US
dc.identifier.callnoWA275 ง337ก 2547en_US
dc.identifier.contactno46ค079en_US
.custom.citationงามนิตย์ ราชกิจ, Ngamnith Ratchakit, จรินทร์ อินทร์สุวรรณโณ, ชาญชัย กีฬาแปง and ชลลดา สายสืบ. "การขยายผลการพัฒนาระบบสร้างเสริมความปลอดภัยรถรับส่งนักเรียนในเขตชนบท จังหวัดเชียงราย." 2547. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2118">http://hdl.handle.net/11228/2118</a>.
.custom.total_download47
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year0
.custom.downloaded_fiscal_year0

Fulltext
Icon
Name: hs1153.pdf
Size: 857.2Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record