dc.contributor.author | สุณี วงศ์คงคาเทพ | en_US |
dc.contributor.author | บุษยสิทธิ์ พงษ์พิจิตร | en_US |
dc.contributor.author | จารุวัฒน์ บุษราคัมรุหะ | en_US |
dc.contributor.author | ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์ | en_US |
dc.contributor.author | โกเมศ วิชชาวุธ | en_US |
dc.coverage.spatial | ไทย | en_US |
dc.date.accessioned | 2009-01-23T04:35:07Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-17T00:23:36Z | |
dc.date.available | 2009-01-23T04:35:07Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-17T00:23:36Z | |
dc.date.issued | 2550 | en_US |
dc.identifier.other | hs1437 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/2245 | en_US |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์การศึกษานี้เพื่อศึกษาสถานการณ์การเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากของประชาชนไทย โดยวิเคราะห์จากฐานข้อมูลดิบ (raw data) การสำรวจอนามัยและสวัสดิการและการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ข้อมูลประกอบด้วยข้อมูลระดับบุคคลปี 2546 จำนวน 68,433 คน ในจำนวน 26520 ครัวเรือน และข้อมูลระดับบุคคลปี 2549 จำนวน 74,057คน ในจำนวน 25,985 ครัวเรือน ประมวลผลข้อมูลโดยถ่วงน้ำหนักข้อมูล (Wight) เพื่อให้ได้ค่าประมาณของประชาชนทั้งหมด เปรียบเทียบอัตราการมีหลักประกันสุขภาพปี 2546 กับปี 2549 พบว่ามีอัตราการใกล้เคียงกันร้อยละ 95 และ 96 ทุกกลุ่มอายุมีสิทธิ 30 บาทสูงสุดคิดเป็นร้อยละ 68 และ 88 กลุ่มเล็กประถมศึกษามีสิทธิ 30 บาทสูงสุดร้อยละ 68 และ 88 รองลงมาคือกลุ่มเล็กก่อนวัยเรียนร้อยละ 81 และ 83 การใช้บริการทันตกรรมของประชาชนไทยปี 2546 พบร้อยละ 10.2 ลดลงเป็นร้อยละ 7.4 ในปี 2549 โดยกลุ่มที่มีสิทธิ 30 บาท ใช้บริการทันตกรรมร้อยละ 9 และ 6 กลุ่มอายุที่ใช้บริการสูงสุดคือ กลุ่มประถมศึกษา (ร้อยละ 17 และ 10) และใช้บริการต่ำสุดคือกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน (ร้อยละ 3 และ 2) แสดงให้เห็นว่าประชาชนไทยมีหลักประกันสุขภาพครอบคลุมสูง แต่กลับพบว่ากลุ่มสิทธิ 30 บาทมีปัญหาในการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากอย่างชัดเจน โดยเฉพาะกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข,สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | ระบบบริการสุขภาพ | en_US |
dc.subject | สุขภาพช่องปาก | en_US |
dc.subject | อนามัยช่องปาก | en_US |
dc.subject | Health Service Systems | en_US |
dc.subject | การบริการสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) | th_TH |
dc.subject | ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) | th_TH |
dc.title | การประเมินผลการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากและข้อเสนอเชิงนโยบาย การเข้าถึงบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพ ภายใต้ชุดสิทธิประโยชน์ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า | en_US |
dc.title.alternative | Dental health care accessibility of Thai people in 2003 and 2006 | en_US |
dc.title.alternative | การเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากของประชาชนไทยปี 2546 และปี 2549 | en_US |
dc.title.alternative | ทบทวนวรรณกรรมกลยุทธ์ มาตรการ และกลไกการบริหารจัดการเพิ่มอัตราการเข้าถึงบริการส่งเสริมป้องกันสุขภาพช่องปาก | en_US |
dc.title.alternative | การใช้ข้อมูลในระบบรายงานสุขภาพเพื่อประเมินสมรรถนะระบบบริการ | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |
dc.description.abstractalternative | This study is aimed at reviewing people’s accessibility to dental health care service. Primary data was derived from two major household surveys conducted by National Statistic Bureau; health and welfare survey, and economic and social status survey both in 2003 (N = 26,520 households and 68,433 individuals) and 2006 (N = 25,98 5 households and 74,057 individuals). Extrapolation to total population by weigh was then calculated.
Marginal increase in overall health insurance coverage in general population was found from 95% in 2003 to 93 % in 2006, of which national health insurance scheme contributed 68-88%. Considered by age groups, 81-83% in school age and 87-88% in school age get highest coverage of the national scheme. Focusing to dental health care service, the overall utilization has declined from 10.19% to 7.44%, compared to those covered by the national scheme from 9% to 6%. The highest utilization was among school age children (17% to 10%) compared to the lowest, pre-school age (3% to 2%). The result revealed that despite of high coverage of national health insurance scheme, the low accessibility to dental health care is still unsatisfied. Among them, preschool age children to whom dental health promotion should be concentrated getting worse. | en_US |
dc.identifier.callno | WU113 ส764ก [2550] | en_US |
dc.identifier.contactno | 50-010 | en_US |
dc.subject.keyword | หลักประกันสุขภาพ | en_US |
dc.subject.keyword | การเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก | en_US |
dc.subject.keyword | ชุดสิทธิประโยชน์ | en_US |
dc.subject.keyword | ทันตสุขภาพ | en_US |
.custom.citation | สุณี วงศ์คงคาเทพ, บุษยสิทธิ์ พงษ์พิจิตร, จารุวัฒน์ บุษราคัมรุหะ, ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์ and โกเมศ วิชชาวุธ. "การประเมินผลการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากและข้อเสนอเชิงนโยบาย การเข้าถึงบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพ ภายใต้ชุดสิทธิประโยชน์ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า." 2550. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2245">http://hdl.handle.net/11228/2245</a>. | |
.custom.total_download | 501 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 1 | |
.custom.downloaded_this_year | 26 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 5 | |