dc.contributor.author | มานวิภา อินทรทัต | en_US |
dc.contributor.author | อาจยุทธ เนติธนากูล | en_US |
dc.coverage.spatial | ไทย | en_US |
dc.date.accessioned | 2009-01-29T09:22:02Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-17T00:50:27Z | |
dc.date.available | 2009-01-29T09:22:02Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-17T00:50:27Z | |
dc.date.issued | 2552 | en_US |
dc.identifier.other | hs1476 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/2255 | en_US |
dc.description.abstract | ด้วยเป้าหมายหลักของการพัฒนาระบบสุขภาพไทย คือ การมีธรรมภิบาลในการจัดระบบสุขภาพให้สมดุลและยั่งยืน เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรงและมีสุขภาวะที่ดี ดังนั้นจึงต้องทราบถึงสถานการณ์ปัจจุบันของธรรมภิบาลระบบสุขภาพ จุดประสงค์ของงานวิจัยนี้คือการทบทวนวรรณกรรมทางวิชาการที่เกี่ยวข้องทั้งหมด วิเคราะห์ปัญหา อุปสรรคและวางแนวทางการศึกษา ในการศึกษาได้แบ่งธรรมาภิบาลสุขภาพเป็น 10 องค์ประกอบ คือ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักความมีส่วนร่วม หลักสำนึกรับผิดชอบ หลักความคุ้มค่า การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การพัฒนาองค์เรียนรู้ การบริหารจัดการและเทคโนโลยีสารสนเทศ พิจารณาทั้งระบบมหภาคและจุลภาคและพิจารณาบริการสาธารณสุขเป็นกระบวนการตั้งแต่การนำเข้า กระบวนการบริการ ผลผลิตและผลลัพธ์ซึ่งอยู่ภายใต้สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง รวมทั้งผู้ที่มีบทบาท (actor) ในขบวนการทั้งหมด จากการทบทวนพบว่า ยังมีปัญหาในทุกองค์ประกอบของธรรมาภิบาล ดังนั้น ถ้ามีการแก้ปัญหาในองค์ประกอบธรรมาภิบาลดังกล่าวจะนำมาซึ่งผลผลิต คือ มีบริการที่มีคุณภาพเพียงพอ ประชาชนมีความพึงพอใจและมีผลลัพธ์คือ การมีสุขภาพแข็งแรงและการมีสุขภาวะที่ดีของประชาชนอย่างยั่งยืน จากการศึกษาธรรมาภิบาลในระบบสุขภาพทั้งในและนอกประเทศ พบว่าธรรมาภิบาลเป็นปัจจัยหนึ่งของระบบสุขภาพในการนำมาใช้ต้องปรับให้เหมาะสมและควรใช้ในทุกระดับ รวมทั้งสามารถตรวจสอบได้ ปัญหาที่พบในการทบทวนการศึกษาธรรมาภิบาลในระบบสุขภาพของไทยคือ ยังขาดงานวิจัยอย่างมาก โดยเฉพาะงานวิจัยเชิงคุณภาพและการศึกษาเปรียบเทียบกับต่างประเทศ | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.format.extent | 1070493 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | การบริหารสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) | th_TH |
dc.title | การศึกษาทบทวนสถานการณ์ธรรมาภิบาลระบบสุขภาพ | en_US |
dc.title.alternative | Reviewing the literature on governance in health system | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |
dc.description.publication | ได้รับการตีพิมพ์เป็นบทความวิชาการในวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 ก.ค.-ก.ย. 2552 หน้า 443-449 | en_US |
dc.description.abstractalternative | The goal of the Thai health system development is to achieve a balanced and sustainable society in which all Thai citizens have security to live a happy life in a healthy and better condition. The objective of this research were literature review formed a foundation and knowledge of Thai good governance in health system, analyze and plan for research mapping.
In this study, the good governance in health system was divided into 10 sectors; rule of laws, ethics, transparency, participation, accountability, value for money, human resources development, knowledge organization, and information technology. These were simultaneously analyzed in macro and micro analysis system that influenced by the economic, social, political conditions as well as agency’s role.
The literature review found that there were problems in every components of health governance, if these problems were solved more effectively, it would generate a better and improved service in health care system. Consequently, it would create a sustainable society in which all Thai citizens would live a happy life in a healthy condition.
The study found that governance is a function of the health system, each governance principle should be developed and adapted, and governance issues should identified at all levels. The problems of study in health governance were that it need more research,especially in qualitative approach and comparison of the international governance function | en_US |
dc.identifier.callno | WA540.JT3 ม444ก 2552 | en_US |
dc.identifier.contactno | 51-025 | en_US |
dc.subject.keyword | ธรรมาภิบาล | en_US |
dc.subject.keyword | ความเป็นธรรม | en_US |
dc.subject.keyword | ระบบสุขภาพ | en_US |
dc.subject.keyword | สาธารณสุข | en_US |
dc.subject.keyword | ทบทวนสถานการณ์ | en_US |
dc.subject.keyword | แนวคิดผู้รับใช้ | en_US |
dc.subject.keyword | การมีส่วนร่วมของประชาชน | en_US |
dc.subject.keyword | Health Governance | en_US |
dc.subject.keyword | Stewardship | en_US |
dc.subject.keyword | Public Participation | en_US |
.custom.citation | มานวิภา อินทรทัต and อาจยุทธ เนติธนากูล. "การศึกษาทบทวนสถานการณ์ธรรมาภิบาลระบบสุขภาพ." 2552. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2255">http://hdl.handle.net/11228/2255</a>. | |
.custom.total_download | 149 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 4 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 0 | |