แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ความรุนแรงต่อผู้พิการ : สถานะความรู้และข้อเสนอโครงการวิจัย

dc.contributor.authorเพ็ญจันทร์ ประดับมุข-เชอร์เรอร์en_US
dc.coverage.spatialไทยen_US
dc.date.accessioned2009-03-06T07:08:45Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:50:32Z
dc.date.available2009-03-06T07:08:45Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:50:32Z
dc.date.issued2549-03en_US
dc.identifier.otherhs1443en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2279en_US
dc.description.abstractความรุนแรงเกิดได้กับคนทั่วไปทุกเพศ ทุกวัย ทุกกลุ่ม หากแต่ว่าด้วยโครงสร้างทางสังคมวัฒนธรรมทำให้คนกลุ่มหนึ่งมีแนวโน้มที่ตกเป็นเหยื่อของความรุนแรงมากกว่าคนอีกกลุ่มหนึ่ง บทความชิ้นนี้มุ่งทบทวนแนวคิด และสถานะองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับความรุนแรงต่อผู้พิการ โดยชี้ให้เห็นว่าสังคมอธิบายและให้ความหมายความพิการผ่านตัวแบบทางการแพทย์เป็นสำคัญ โดยการสร้างภาพให้คนพิการเป็นคนที่ไม่สมบูรณ์ผิดปกติหรือด้อยกว่าคนปกติ เช่น เหมือนเด็กมีตำหนิ ผิดธรรมชาติ ไม่เป็นที่สนใจ พึ่งพิง ต้องการการปกป้อง เป็นบุคคลน่าสงสาร ทำงานให้ผลิตไม่ได้ ภาพร่างทางสังคมของคนพิการเช่นนี้ ตีตรา (label) สร้างภาพให้คนพิการมีลักษณะที่สูญเสียความสามารถ ลดคุณค่า ตลอดจนสร้างความชอบธรรมให้ต่อต้านเกลียวกลัว กระทำกำหนดและควบคุม รวมทั้งสร้างกฎระเบียบที่จะทำให้คนพิการตกอยู่ในภาวะพึ่งพิง ถูกแบ่งแยก หรือถูกเอารัดเอาเปรียบ นอกจากนั้น ยังพบอีกว่า ผู้หญิงพิการมีแนวโน้มการถูกกระทำความรุนแรงมากกว่าคนพิการทั่วไป เพราะความเป็นผู้หญิงและเพราะข้อจำกัดด้านความพิการที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง การถูกแยกตัวให้อยู่ลำพัง และความสามารถในการแสวงหาความช่วยเหลือ ทั้งหมดล้วนแล้วแต่เป็นปัจจัยของการเกิดความรุนแรงในคนพิการ และแนวโน้มของการเป็นผู้ถูกกระทำซ้ำ การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับความรุนแรงต่อคนพิการในประเทศไทยยังไม่ปรากฎ และมีความจำเป็นต้องเร่งสร้างองค์ความรู้อย่างเป็นระบบเพื่อหาแนวทางป้องกันและช่วยเหลือในอนาคตen_US
dc.description.sponsorshipแผนงานสร้างเสริมสุชภาพคนพิการในสังคมไทย, ศูนย์ศิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ,สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent5569740 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherแผนงานสร้างเสริมสุขภาพคนพิการในสังคมไทยen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectHealth Promotionen_US
dc.subjectDisabled Personsen_US
dc.subjectการส่งเสริมสุขภาพen_US
dc.subjectคนพิการen_US
dc.subjectปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH)th_TH
dc.titleความรุนแรงต่อผู้พิการ : สถานะความรู้และข้อเสนอโครงการวิจัยen_US
dc.title.alternativeViolence and people with disabilities literature review and redearch proposalen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.description.abstractalternativeViolence is a widespread phenomenon, occurring among different genders, ages and social groups. However, some people, particularly disable people, are more likely to be victimized than able people due to social and cultural circumstances. This paper examines key issues related to violence against disabled people. It begins with an examination of how the medical model explain and gives meaning to disability by portraying disable people as abnormal, child-like, ‘damaged goods’, ‘freaks of nature’, unattractive, dependent, in need of protection, and object of pity, unproductive, and tainted by disease/ill-health. These social representations have been fed in the ideas of deviancy from the norm and supposed inferiority. Such labels imply both a functional loss and a lack of worth, they perpetuate and legitimate offensive responses by non-disabled people including over-protection, discrimination and abuse. In addition, the literature review indicates that women with disabilities are at a much higher risk of being sexually abused, compared to other women. As women, They are oppressed in a society of male domination. As disabled, they are dependent, isolated and unable to seek help. Research in Thailand concerning violence against disabled people is scarce. Thus, systematic research and interventions are needed to reduce violence against disabled people.en_US
dc.identifier.callnoWB320 พ885ค 2549en_US
dc.identifier.contactno48ข048-4en_US
dc.subject.keywordความรุนแรงen_US
dc.subject.keywordงานวิจัยen_US
.custom.citationเพ็ญจันทร์ ประดับมุข-เชอร์เรอร์. "ความรุนแรงต่อผู้พิการ : สถานะความรู้และข้อเสนอโครงการวิจัย." 2549. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2279">http://hdl.handle.net/11228/2279</a>.
.custom.total_download188
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month1
.custom.downloaded_this_year8
.custom.downloaded_fiscal_year1

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs1443.pdf
ขนาด: 5.488Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย