dc.contributor.editor | จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์ | en_US |
dc.coverage.spatial | ไทย | en_US |
dc.date.accessioned | 2009-05-06T08:38:27Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-17T00:51:52Z | |
dc.date.available | 2009-05-06T08:38:27Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-17T00:51:52Z | |
dc.date.issued | 2551-10 | en_US |
dc.identifier.other | hs1474 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/2411 | en_US |
dc.description.abstract | รายงาน เรื่อง เป้าประสงค์/ปัจจัยผลักดันระบบที่สําคัญ/ปัจจัยความไม่แน่นอนของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประเทศไทย เนื้อหาประกอบด้วย 1) หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเพื่อการเข้าถึงบริการที่มีคุณการที่มีคุณภาพ (Quality) และได้มาตรฐานหรือเพื่อประกันการเข้าถึงบริการสุขภาพขั้นฐาน โดยมีเป้าหมายเพื่อควบคมต้นทุนค่าใช้จ่าย (Cost containment) ของระบบบริการสุขภาพ 2) หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ามุ่งเน้นสิทธิเพื่อประกันโอกาสในการเข้าถึงบริการที่เป็นธรรม (Equitable access) หรือมุ่งการสงเคราะห์เพื่อช่วยเหลือผู้ยากไร้ (Helping the poor) 3) หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเพื่อความครอบคลุมกว้างขวางตั้งแต่ความเจ็บป่วยเล็กน้อย (First-Baht Primary Care) หรือความครอบคลุมเฉพาะความเจ็บป่วยที่มีค่าใช้จ่ายสูง (Catastrophic Tertiary Care) 4) สิทธิประโยชน์ภาคบังคับที่เท่าเทียม (Compulsory Equitable Benefit) หรือสิทธิประโยชน์ที่ให้ทางเลือกผู้บริโภคและเก็บส่วนร่วมจ่าย (Consumer Choice with Cost Sharing) 5) หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าส่งเสริมการแข่งขันในระบบตลาด (Competitive market)หรือระบบการบริการภายใต้การจัดการภาครัฐเพื่อสังคม (Managed or socialized system)6) ความท้าทายที่เป็นปัจจัยผลักดันด้านทรัพยากรบุคคลในการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 7) นโยบายการกระจายอำนาจสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและพรบ.สุขภาพแห่งชาติกับการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าประเทศไทย 8) ความต้องการและความคาดหวังของประชนผู้รับบริการที่ไม่สมดุลกับศักยภาพของระบบบริการก่อให้เกิดความขัดแย้งกับผู้ใช้บริการและทำให้ปัญหาการร้องเรียนผ่านกลไกต่างๆ ตลอดจนการฟ้องร้องขยายตัวขึ้น 9) สถานการณ์และแนวโน้มในอนาคตที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีทางการแพทย์กับการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่ยั่งยืน 10) โรงพยาบาลต่างๆ ให้ความสำคัญกับระบบบริหารจัดการและปรับตัวเพื่อประสิทธิภาพขององค์กรรองรับการแข่งขันและเพื่อความอยู่รอดทางการเงินมากขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งหากเป็นองค์การมหาชน 11) ปัจจัยผลักดันระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าจากสถานการณ์และการพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ 12) การเปลี่ยนแปลงของระบบอภิบาลและการบริหารหลักประกันสุขภาพภาครัฐโดยให้ภาคเอกชนเข้ามาดำเนินการ 13) การเกิดเหตุการณ์ของโรคติดต่อที่มีความสำคัญอย่างต่อเนื่องและซ้ำซากจนเป็นภาระแก่ระบบ 14) ความไม่แน่นอนอันเนื่องจากผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงอัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างสำคัญต่อแนวโน้มในการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 15) ความไม่แน่นอนจากผลกระทบของภัยธรรมชาติที่รุนแรงต่อโครงสร้างพื้นฐานระบบบริการสาธารณสุข 16) การขยายวงของปัญหาการก่อการร้ายภายในประเทศ และ 17) ความไม่แน่นอนต่อการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าอันเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงหรือความก้าวหน้าของเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพหรือการบริหารจัดการระบบ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สํานักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย (สวปก.), สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.), กระทรวงสาธารณสุข. สํานักนโยบายและยุทธศาสตร์ | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.relation.ispartofseries | โครงการศึกษาภาพอนาคตและเส้นทางสู่หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่ยั่งยืนของประเทศไทย | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | ระบบประกันสุขภาพ | en_US |
dc.subject | Health Insurance Systems | en_US |
dc.subject | ประกันสุขภาพ | en_US |
dc.subject | ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) | th_TH |
dc.title | เป้าประสงค์/ปัจจัยผลักดันระบบที่สําคัญ/ปัจจัยความไม่แน่นอนของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประเทศไทย | en_US |
dc.title.alternative | Goals / Key system drivers / Uncercainty factors | en_US |
dc.title.alternative | Position papers on goals,Key system deivers and uncertainty factors relevant to univant to universal health insurance | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |
dc.identifier.callno | W100 จ542ป 2551 | en_US |
dc.identifier.contactno | 50ค009-4 | en_US |
dc.subject.keyword | หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า | en_US |
.custom.citation | "เป้าประสงค์/ปัจจัยผลักดันระบบที่สําคัญ/ปัจจัยความไม่แน่นอนของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประเทศไทย." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2411">http://hdl.handle.net/11228/2411</a>. | |
.custom.total_download | 140 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 6 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 1 | |