แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติการพัฒนาภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไทย พ.ศ. 2550-2554 ยุทธศาสตร์ที่ 5 การคุ้มครองภูมิปัญญาไทย ด้านการแพทย์พื้นบ้าน การแพทย์แผนไทย

dc.contributor.authorบัณฑูร เศรษฐศิโรตม์en_US
dc.contributor.otherสถาบันสุขภาพวิถีไทยen_US
dc.coverage.spatialไทยen_US
dc.date.accessioned2009-05-15T07:16:27Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:18:11Z
dc.date.available2009-05-15T07:16:27Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:18:11Z
dc.date.issued2551-12en_US
dc.identifier.otherhs1510-5en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2487en_US
dc.description.abstractในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การคุ้มครองภูมิปัญญาไทยด้านการแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์แผนไทย ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติฯ ควรมุ่งเน้นเป้าหมายในเรื่องเครือข่ายเฝ้าระวังโจรสลัดชีวภาพ (Bio-piracy) และการจัดตั้งระบบฐานข้อมูลภูมิปัญญาไทย เนื่องจากมีความสำคัญเร่งด่วนเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น และจะเป็นฐานของการดำเนินงานในเรื่องอื่นๆ ต่อไป เครือข่ายเฝ้าระวังโจรสลัดชีวภาพ ควรมีการดำเนินงานใน 2 ระดับ คือ เครือข่ายในระดับพื้นที่ และเครือข่ายในระดับส่วนกลาง โดยมีการทำงานเชื่อมโยงประสานกัน กิจกรรมการดำเนินงานประกอบด้วย การจัดทำโครงการนำร่องเฝ้าระวังโจรสลัดชีวภาพร่วมกับเครือข่ายหมอพื้นบ้าน ดำเนินการในลักษณะพื้นที่นำร่องเป็นต้นแบบเพื่อการเรียนรู้ นำไปขยายผลในพื้นที่อื่นๆ ต่อไป การจัดทำความร่วมมือเป็นทางการระหว่างกรมการแพทย์แผนไทยฯ กับสถาบันการศึกษาในท้องถิ่นเพื่อเป็นเครือข่ายเฝ้าระวังปัญหาโจรสลัดชีวภาพ โดยต้องมีการจัดกิจกรรมการเสริมสร้างความเข้าใจ การเรียนรู้เกี่ยวกับกฎหมายด้านความหลากหลายทางชีวภาพ การกำหนดจัดรูปแบบกิจกรรมเฝ้าระวังปัญหาโจรสลัดชีวภาพให้เหมาะสมกับสภาพภูมินิเวศของแต่ละพื้นที่ และกิจกรรมการสร้างเครือข่ายความร่วมมือเฝ้าระวังโจรสลัดชีวภาพในส่วนกลาง โดยมุ่งเน้นเป้าหมายหลักไปยังสถาบันการศึกษาที่จัดการเรียนการสอนด้านการแพทย์แผนไทย เพื่อเสริมประสิทธิภาพกลไกการตรวจสอบเฝ้าระวังที่ดำเนินงานอยู่ของกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยฯ สำหรับในด้านการพัฒนาเครือข่ายฐานข้อมูลด้านภูมิปัญญาการแพทย์ มีกิจกรรมหลักประกอบด้วย กิจกรรมการรวบรวมจัดทำ “แผนที่ภูมิปัญญาในระดับชุมชน” ซึ่งได้มีการดำเนินงานอยู่แล้วในหลายพื้นที่ โดยควรส่งเสริมขยายผลไปยังพื้นที่ที่ยังไม่ได้ดำเนินการ และจัดเก็บข้อมูลเข้าสู่ระบบฐานข้อมูล กิจกรรมการพัฒนาระบบฐานข้อมูลโดยให้สามารถเชื่อมโยงกับเครือข่ายเฝ้าระวังในระดับท้องถิ่น ให้องค์กรเครือข่ายในระดับท้องถิ่นสามารถใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลเพื่อเสริมประสิทธิภาพการดำเนินงานในด้านต่างๆ ได้ รวมทั้งการเฝ้าระวังปัญหาโจรสลัดชีวภาพในระดับพื้นที่ และกิจกรรมการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การจัดทำพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้านภูมิปัญญาการแพทย์กับประเทศอินเดีย ซึ่งมีความก้าวหน้าในการพัฒนาฐานข้อมูลที่เรียกว่า “Traditional Knowledge Digital Library” (TKDL)en_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent369547 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectสุขภาพทางเลือกen_US
dc.subjectการแพทย์ทางเลือกen_US
dc.subjectAlternative Medicineen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.subjectThai Traditional Medicineen_US
dc.subjectการแพทย์พื้นบ้านth_TH
dc.titleการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติการพัฒนาภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไทย พ.ศ. 2550-2554 ยุทธศาสตร์ที่ 5 การคุ้มครองภูมิปัญญาไทย ด้านการแพทย์พื้นบ้าน การแพทย์แผนไทยen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.description.abstractalternativeIn mobilizing the strategy on Thai traditional knowledge protection (local medical and Thai traditional medical) under the national strategy plan, the establishment of Bio-piracy network and traditional knowledge database should be high priority targets because these will be important tools to protect and resolve the existing problem and will benefit for other targets. The Bio-piracy network should operate in 2 levels, local area network and national network, which coordinate each other. In order to achieve the priority targets, many activities should be implemented including a pilot bio-piracy learning model in cooperation with folk medical network and local educational institutions, biodiversity laws training and bio-piracy surveillance establishment. The national bio-piracy network should operate closely with educational institutions which have thai traditional medicine curriculum in order to strengthen the existing surveillance mechanism implemented by Department for Development of Thai Traditional and Alternative Medicine. The main activities for Thai traditional medicine database development are as following ; community traditional knowledge map survey and extension, database design and development in connection with bio-piracy network at local level and experience exchange with relevant agencies of India emphasizing on Traditional Knowledge Digital Library (TKDL.)en_US
dc.identifier.callnoW32 บ263ก 2551en_US
dc.identifier.contactno51-045en_US
.custom.citationบัณฑูร เศรษฐศิโรตม์. "การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติการพัฒนาภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไทย พ.ศ. 2550-2554 ยุทธศาสตร์ที่ 5 การคุ้มครองภูมิปัญญาไทย ด้านการแพทย์พื้นบ้าน การแพทย์แผนไทย." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2487">http://hdl.handle.net/11228/2487</a>.
.custom.total_download82
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year1
.custom.downloaded_fiscal_year0

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs1510-5.pdf
ขนาด: 393.4Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย