แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

อนามัยและสวัสดิการของคนไทยหลังหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตอนที่ 1 เรื่องการเจ็บป่วย การใช้บริการสุขภาพ และการใช้สิทธิหลักประกันสุขภาพของคนไทย

dc.contributor.authorจิตปราณี วาศวิทen_US
dc.contributor.authorวิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียรen_US
dc.contributor.authorกัญจนา ติษยาธิคมen_US
dc.contributor.authorวลัยพร พัชรนฤมลen_US
dc.contributor.authorนวรัตน์ โอปนพันธ์en_US
dc.date.accessioned2008-10-01T03:32:16Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-15T08:54:04Z
dc.date.available2008-10-01T03:32:16Zen_US
dc.date.available2557-04-15T08:54:04Z
dc.date.issued2547en_US
dc.identifier.citationวารสารวิชาการสาธารณสุข 13,3(2547) : 428-439en_US
dc.identifier.issn0858-4923en_US
dc.identifier.otherDMJ52en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/248en_US
dc.description.abstractข้อมูลด้านอนามัยและสวัสดิการที่ทันสมัยเพื่อใช้ในการประเมินผลโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นสิ่งสำคัญ กระทรวงสาธารณสุขจึงได้ขอความร่วมมือจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) ให้ดำเนินการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ ขึ้น การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลการดำเนินโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ในด้วนความครอบคลุมของประชากร ภาวะการเจ็บป่วยของประชากรไทยก่อนและหลังมีนโยบายสุขภาพถ้วนหน้า แบบแผนการเลือกใช้บริการรักษาพยาบาล และอัตราการใช้สิทธิในโครงการฯ ตลอดจนบักษณะทางเศรษฐกิจและสังคมของผู้ไม่มีสวัสดิการใดๆ ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณา วิเคราะห์ข้อมูลการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ.๒๕๔๖ ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ซึ่งได้สุ่มครวเรือนตัวอย่างจากทุกจังหวัดเพื่อเป็นตัวแทนของประชากรทั้งประเทศได้ครัวเรือนตัวอย่าง ๒๖,๕๒๐ ครัวเรือน ดำเนินการสำรวจในเดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๔๖ ข้อมูลจากการสำรวจสามารถนำมาคำนวณและประมาณค่าเพื่อเป็นตัวแทนของประชากรทั้งประเทศได้โดยการถ่วงน้ำหนักตามระเบียบวิธีทางสถิติ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ภายหลังการดำเนินนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า สามารถครอบคลุมประชากร ๔๗.๗ ล้านคนหรือร้อยละ ๗๔.๗ ของประชากรทั้งประเทศ ให้มีหลักประกันการรักษาพยาบาลแต่ยังมีผู้ไม่มีหลักประกันสุขภาพ ๓.๒ ล้านคน (ร้อยละ๕) อัตราการเจ็บป่วยของประชากรในหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปี ๒๕๔๖ กรณีผู้ป่วยนอก เท่ากับ ๔.๙๓ ครั้ง/คน/ปี เพิ่มขึ้นจาก ๔.๑๐ ครั้ง/คน/ปี ในปี ๒๕๔๔ เพิ่มขึ้นร้อยละ ๒๐.๑ อัตราการนอนโรงพยาบาลเท่ากับ๐.๐๗๖ ครั้ง/คน/ปี ในปี ๒๕๔๔ เพิ่มขึ้นร้อยละ ๘.๘ แบบแผนการเลือกใช้บริการรักษาของประชากรในหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเปลี่ยนแปลงพอสมควร โดยเปลี่ยนไปใช้บริการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลปฐมภูมิและโรงพยาบาลชุมชนมากขึ้น การใช้บริการในโรงพยาบาลทั่วไป/โรงพยาบาลศูนย์ ลดลง แสดงถึงความสำเร็จของโครงการฯ การใช้สิทธิรักษาพยาบาล กรณีผู้ป่วยนอกมีการใช้สิทธิบัตรทองร้อยละ ๕๖.๖ กรณีผู้ป่วยในมีการใช้สิทธิสูงถึงร้อยละ ๘๐.๙ ข้อเสนอแนะ รัฐควรให้การสนับสนุนทรัพยากรทั้งงบประมาณและอัตรากำลังเจ้าหน้าที่อย่างเพียงพอให้สอดคล้องกับภาระงานที่เพิ่มขึ้นในสถานพยาบาลระดับปฐมภูมิ และโรงพยาบาลชุมชน อกทั้งควารมีมาตรการดำเนินการให้ผู้ที่ยังไม่มีหลักประกันใดๆ ได้รับสวัสดิการเช่นเดียวกับบุคคลอื่นๆen_US
dc.format.extent153163 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศen_US
dc.rightsสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศen_US
dc.subjectหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าen_US
dc.titleอนามัยและสวัสดิการของคนไทยหลังหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตอนที่ 1 เรื่องการเจ็บป่วย การใช้บริการสุขภาพ และการใช้สิทธิหลักประกันสุขภาพของคนไทยen_US
dc.typeArticleen_US
dc.subject.keywordสวัสดิการรักษาพยาบาลen_US
dc.subject.keywordอัตราการเจ็บป่วยen_US
dc.subject.keywordการเลือใช้บริการรักษาพยาบาลen_US
dc.subject.keywordการใช้สิทธิในหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าen_US
.custom.citationจิตปราณี วาศวิท, วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร, กัญจนา ติษยาธิคม, วลัยพร พัชรนฤมล and นวรัตน์ โอปนพันธ์. "อนามัยและสวัสดิการของคนไทยหลังหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตอนที่ 1 เรื่องการเจ็บป่วย การใช้บริการสุขภาพ และการใช้สิทธิหลักประกันสุขภาพของคนไทย." 2547. <a href="http://hdl.handle.net/11228/248">http://hdl.handle.net/11228/248</a>.
.custom.total_download894
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month4
.custom.downloaded_this_year92
.custom.downloaded_fiscal_year15

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: 2004_DMJ52_อนามัย ...
ขนาด: 149.5Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย