Show simple item record

A literature review of second opinion and public health information

dc.contributor.authorกานต์ สุวรรณสาครกุลen_US
dc.contributor.authorอนุพงษ์ วิเลปนานนท์en_US
dc.coverage.spatialไทยen_US
dc.date.accessioned2009-05-15T08:08:03Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:15:34Z
dc.date.available2009-05-15T08:08:03Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:15:34Z
dc.date.issued2549-03en_US
dc.identifier.isbn974-506-949-3en_US
dc.identifier.otherhs1512en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2491en_US
dc.description.abstractแนวคิดเรื่องความเห็นที่สองเป็นแนวคิดหนึ่งที่มีประสิทธิภาพซึ่งทําให้การรักษาพยาบาลมีคุณภาพและน่าเชื่อถือมากขึ้นโดยเป็นไปเพื่อประโยชน์แก่ผู้รับบริการยิ่งไปกว่านั้นการนําแนวคิดเรื่องนี้มาประยุกต์ใช้อย่างทั่วถึงในประเทศไทยนั้นยังเป็นการแสดงให้เห็นถึงการให้ความสําคัญแก่ผู้รับบริการมากขึ้นซึ่งเป็นการพัฒนาและยกระดับสิทธิพื้นฐานของประชาชนในการได้รับบริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพ การศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับระบบและกลไกการเข้าถึงแหล่งข้อมูลความเห็นที่สองและข้อมูลด้านสาธารณสุขครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อได้มาซึ่งข้อมูลเบื้องต้นในการพัฒนาระบบและกลไกการเข้าถึงแหล่งข้อมูลความเห็นที่สองที่เหมาะสมในประเทศไทย ผลการทบทวนวรรณกรรมพบว่าแนวความคิดเรื่องการเข้าถึงความเห็นที่สองนั้นเริ่มมีการกล่าวถึงและนํามาปฏิบัติอย่างเป็นจริงจังในประเทศสหรัฐอเมริกาเมื่อประมาณช่วงทศวรรษที่ 1970 โดยที่ความเห็นที่สอง เมื่อเริ่มแรกนั้นได้ถูกนํามาใช้โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อลดค่าใช้จ่ายในการรักษา (โดยเฉพาะจากการผ่าตัดที่ไม่จําเป็น) ที่อยู่ภายใต้ระบบประกันสุขภาพมากกว่าที่จะเพื่อเป็นการให้ข้อมูลเพิ่มเติมหรือเป็นทางเลือกในการรักษาให้แก่ผู้ป่วย จากการศึกษาจะเห็นได้ว่าการนําแนวคิดเรืองความเห็นที่สองไปใช้ในแต่ละประเทศต่างก็มีแนวคิดหลักอยูบนหลักการเดียวกันคือเป็นไปเพื่อสิทธิพื้นฐานโดยเอื้อประโยชน์ในด้านการเป็นข้อมูลยืนยันเพิ่มเติมและเสนอทางเลือกในการรักษาให้แก่ผู้ป่วยยกเว้นประเทศสหรัฐอเมริกาที่ให้ความสําคัญไปที่การลดค่าใช้จ่ายด้วย อย่างไรก็ตามในแต่ละประเทศอาจจะมีความแตกต่างกัน อยู่บ้างในเรื่องของกลไกในการบังคับใช้ว่าจะมากน้อยอยู่ในระดับใดซึ่งบางประเทศได้ออกเป็นกฎหมายบังคับ แต่บางประเทศเห็นว่าเป็นเรื่องของจรรยาบรรณพื้นฐานในการประกอบวิชาชีพ ส่วนวิธีการเข้าถึงขอมูลนั้นค่อนข้างจะคล้ายคลึงกันในแต่ละประเทศ แต่ทว่าจํานวนการใช้และประสิทธิผลในการเข้าถึงข้อมูลของผู้ป่วยในแต่ละวิธีนั้นอาจแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับปัจจัยพื้นฐานของแต่ละประเทศอาทิเช่น ระดับการศึกษาของประชากรเทคโนโลยีกฎหมาย(voluntary) ซึ่งจะให้ความสําคัญไปที่สิทธิของผู้ป่วยในการตัดสินใจมากกว่าแบบบังคับให้ต้องมี (mandatory) โดยที่ผู้ป่วยนั้นมีสิทธิในการร้องขอความเห็นที่สองจากแพทย์ผู้ที่ทําการรักษาอยู่ได้ โดยตรงและท้ายที่สุดนั้นควรมีการบรรจุสิทธิอันนี้เข้ากับระบบประกันสุขภาพเพื่อเป็นประโยชน์ แก่ผู้รับบริการกรอบการพัฒนาระบบจะประกอบไปด้วย 1) การผลักดันซึ่งกลไกทางด้านกฎหมายจรรยาบรรณและการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ผู้บริโภคซึ่งจะเป็นการผลักดันให้เกิดการนําแนวคิดเรื่องความเห็นที่สองไปใช้ 2) ด้านการปฏิบัติและควบคุมโดยที่รัฐสามารถให้หน่วยงานด้านประกันสุขภาพเข้ามาดูแลควบคุมการปฏิบัติจริงซึ่งรวมถึงการควบคุมดูแลค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นด้วย 3) การสนับสนุนโดยที่การพัฒนาระบบฐานข้อมูลสาธารณสุขที่เหมาะสมการจัดตั้งหน่วยงานและศูนย์ประสานงานต่างๆ จะทําให้การนําแนวคิดเรื่องความเห็นที่สองไปใช้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตามภายหลังจากมีระบบแล้วรัฐควรทําการประชาสัมพันธ์ถึงสิทธิ์อันนี้ให้ประชาชนทั่วไปได้รับทราบอย่างถึงและจัดให้มีการติดตามผลการนําไปปฏิบัติอย่างใกล้ชิดเพื่อที่จะประเมินประสิทธิผลและปรับปรุงแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข,สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย,สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติen_US
dc.format.extent361550 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.publisherสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทยen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectการพัฒนาคุณภาพบริการen_US
dc.subjectระบบริการสุขภาพen_US
dc.subjectสาธารณสุข--ข้อมูลen_US
dc.subjectQuality of Health Careen_US
dc.subjectHealth service Systemen_US
dc.subjectPublic Health Informationen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับระบบและกลไกการเข้าถึงแหล่งข้อมูลความเห็นที่สองและข้อมูลด้านสาธารณสุขen_US
dc.title.alternativeA literature review of second opinion and public health informationen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.description.publicationมีการลงเป็นบทความในวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 ก.ค.-ก.ย. 2550 หน้า 180-189en_US
dc.description.abstractalternativeSecond Opinions is one of the efficient medical procedures to enhance quality and reliability of health care system, particularly from the patient’s point of view. To be applied in Thailand, this will provide evidence of our patient’s rights enhancement as well as consumer empowerment, in terms of allowing consumers to receive better quality of health care services. The objective of this study is to review the literatures related to Second Opinions and people’s access to public health information, with the aim to find out preliminary information required for a proper development of Second Opinions System in Thailand. From the literature review, Second Opinions has been initiated and implemented formally in the USA since 1970s. Initially, Second Opinions was used as a utilization review technique to reduce unnecessary costs associated with overused and inappropriate surgeries rather than used as an approach to offer additional information or other further medical opinions to patients. Nowadays, in most countries, Second Opinions is adopted and used based on the same common principle, which regards Second Opinions as a fundamental right of patients to get reassurance, additional information, as well as other treatment options from health care service providers, except in the USA where the importance is also given to cost benefits obtained from implementing the program. It can be seen that, in practices, there are differences in intensity and scope of regulation imposed regarding the application of Second Opinions among the studied countries. Some countries have published state laws regulations to support the implementation of Second Opinions program. On the other hand, some countries see Second Opinions as a typical issue in medical ethics that every practitioner needs to follow, thus no need to use law enforcement. The methods of obtaining Second Opinions in the studied countries are similar among each other, but the number of usage and effectiveness of each method are varied according to various fundamental factors in each country such as education level of population, technology development, state regulations, and local cultures. In the present, Thailand has the declaration of patient’s rights as the main mechanism to move forwards to the establishment of Second Opinions System. However, other supporting mechanisms still need to be developed in order to ensure the system effectiveness. The Second Opinions adopted for Thailand should be on a voluntary basis, giving focus to the patient’s right to make decision, rather than on a mandatory basis. Under this voluntary basis, patients will have an automatic right to request second opinion directly from their attending doctors. The recommended framework for the development of Second Opinions System are as following 1) Driving: using laws/regulations, documented medical ethics, and public relation to strive for public awareness; 2) Implement & Control: related public health assurance units should be assigned to oversee the implementation as well as control the costs incurred from operating the program; 3) Support: the proper development of public health information system and coordination units/centers would provide supporting infrastructure to the adopted system. Under this framework, there are numbers of involved activities such as regulation amendments, public relation, database set-up, further study on cost, etc. Then, after the system has been established, concerned government agencies should relay information to the public through the effective public relation program and then continually follow-up the implementation closely in order to evaluate its effectiveness and eliminate the problems occurred. Although, this report gives preliminary ideas and information required for a development of Second Opinions System in Thailand, many further studies also need to be conducted to give full details of pro’s and con’s of having such system prior to making a go/no-go decision.en_US
dc.identifier.callnoW26.5 ก432ก 2549en_US
dc.subject.keywordแหล่งข้อมูลความเห็นที่สองen_US
dc.subject.keywordข้อมูลด้านสาธารณสุขen_US
dc.subject.keywordSecond Opinionen_US
.custom.citationกานต์ สุวรรณสาครกุล and อนุพงษ์ วิเลปนานนท์. "การทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับระบบและกลไกการเข้าถึงแหล่งข้อมูลความเห็นที่สองและข้อมูลด้านสาธารณสุข." 2549. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2491">http://hdl.handle.net/11228/2491</a>.
.custom.total_download39
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year2
.custom.downloaded_fiscal_year0

Fulltext
Icon
Name: hs1512.pdf
Size: 396.8Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record