Show simple item record

การเรียนรู้กระบวนการจัดทำแผนงานสื่อสารสุขภาพท้องถิ่นของนักสื่อสารสุขภาพ

dc.contributor.authorดวงพร คำนูณวัฒน์en_US
dc.contributor.authorสุนิดา ศิวปฐมชัยen_US
dc.contributor.authorสิรินทร พิบูลภานุวัธน์en_US
dc.contributor.authorพัชรินทร์ เกตุจำนงค์en_US
dc.coverage.spatialไทยen_US
dc.date.accessioned2009-06-05T06:21:28Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:16:45Z
dc.date.available2009-06-05T06:21:28Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:16:45Z
dc.date.issued2551-10en_US
dc.identifier.otherhs1548en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2521en_US
dc.description.abstractจากการที่โครงการวิจัยการสื่อสารสุขภาพท้องถิ่น : แนวคิด การดําเนินงาน และการขยายผลได้ดําเนินงานสนับสนุนให้เกิดการดําเนินงานการสื่อสารสุขภาพท้องถิ่นขึ้นในจังหวัดแพร่และจังหวัดกาญจนบุรีอย่างต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลากว่า 3 ปีส่งผลให้ขณะนี้มีนักสื่อสารสุขภาพ (นสส.) ที่มีความสามารถและมีการปฏิบัติงานสื่อสารสุขภาพในพื้นที่อย่างได้ผล นอกจากนี้ยังเกิดการรวมกลุ่มนสส. เป็นชมรมนักสื่อสารสุขภาพจังหวัดแพร่และจังหวัดกาญจนบุรีขึ้น สามารถรวมพลังกันสร้างสรรค์งานสื่อสารสุขภาพของจังหวัดได้อย่างเข้มแข็ง ถึงแม้ระยะเวลาของโครงการวิจัยฯ จะสิ้นสุดลง งานสื่อสารสุขภาพในพื้นที่ทั้ง 2 จังหวัดยังคงดําเนินงานอย่างต่อเนื่องและต้องการการสนับสนุนจากโครงการวิจัยฯ โดยสมาชิกชมรมฯ ได้ระดมความคิดร่วมกันกําหนดกิจกรรมขับเคลื่อนงานสื่อสารสุขภาพท้องถิ่น ส่วนใหญ่เป็นการดําเนินงานเพื่อขยายเครือข่าย นสส. ไปสู่พื้นที่ระดับอําเภอ ตําบลและหมู่บ้าน ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่างานสื่อสารสุขภาพท้องถิ่นได้รับการยอมรับ และกําลังมีการขยายงานในทั้ง 2 พื้นที่ อนึ่ง การดําเนินงานสื่อสารสุขภาพท้องถิ่นมีองค์ประกอบหลัก 2 ส่วน คือการปฏิบัติการสื่อสารและการบริหารจัดการให้เกิดการสื่อสาร ซึ่งขณะนี้นสส./ชมรมฯ มีความรู้ความสามารถ และความมั่นใจในการดําเนินงานสื่อสารแล้ว สมควรได้รับการเสริมศักยภาพในด้านการบริหารจัดการให้ชมรมฯ สามารถสนับสนุนสมาชิกให้ปฏิบัติงานได้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งหากนสส./ชมรมฯ มีความรู้ความสามารถ ทั้ง 2 ส่วนข้างต้น จะทําให้นสส./ชมรมฯ สามารถดําเนินงานสื่อสารสุขภาพได้ด้วยตนเอง และวิธีการหนึ่งที่น่าจะเป็นการสนับสนุนแนวคิดดังกล่าว คือการทําให้นสส./ชมรมฯ มีความสามารถในการจัดทําโครงการในรูปแบบที่สามารถใช้ในการขอรับการสนับสนุนจากแหล่งทุนต่างๆ การเสริมศักยภาพในการจัดทําโครงการนี้จะทําให้นสส.ได้มีโอกาสเรียนรู้แนวคิด หลักการ และกระบวนการจัดทําโครงการ ซึ่งนอกจากจะทําให้นสส. ได้เรียนรู้การจัดทําโครงการอย่างเป็นระบบแล้ว ในท้ายที่สุดชมรม นสส.ทั้ง 2 พื้นที่ยังจะได้โครงการการดําเนินงานสื่อสารสุขภาพในจังหวัดเป็นแผนปฏิบัติการ 1 ปีที่เกิดจากการทํางานร่วมกัน ซึ่งการสนับสนุนครั้งนี้จะส่งผลให้นสส./ชมรมฯ สามารถดําเนินงานสื่อสารสุขภาพท้องถิ่นได้ด้วยตนเองทั้งในส่วนของการผลิตงานสื่อสารและการบริหารจัดการเพื่อให้งานสื่อสารสุขภาพท้องถิ่นดําเนินไปอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบทมหาวิทยาลัยมหิดล,สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพen_US
dc.format.extent816909 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/octet-streamen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectระบบสื่อสารสุขภาพen_US
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleการเรียนรู้กระบวนการจัดทำแผนงานสื่อสารสุขภาพท้องถิ่นของนักสื่อสารสุขภาพen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.identifier.callnoWA590 ด211ก 2551en_US
dc.identifier.contactno50ข048-1en_US
dc.subject.keywordการสื่อสารสุขภาพen_US
dc.subject.keywordท้องถิ่นen_US
dc.subject.keywordนักสื่อสารสุขภาพen_US
dc.subject.keywordโครงการสื่อสารสุขภาพen_US
.custom.citationดวงพร คำนูณวัฒน์, สุนิดา ศิวปฐมชัย, สิรินทร พิบูลภานุวัธน์ and พัชรินทร์ เกตุจำนงค์. "การเรียนรู้กระบวนการจัดทำแผนงานสื่อสารสุขภาพท้องถิ่นของนักสื่อสารสุขภาพ." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2521">http://hdl.handle.net/11228/2521</a>.
.custom.total_download93
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year2
.custom.downloaded_fiscal_year0

Fulltext
Icon
Name: hs1548.pdf
Size: 869.1Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record