dc.contributor.author | พงศ์เทพ วิวรรธนะเดช | en_US |
dc.contributor.author | มยุรา วิวรรธนะเดช | en_US |
dc.coverage.spatial | เชียงใหม่ | en_US |
dc.date.accessioned | 2009-12-09T04:25:29Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-17T00:24:09Z | |
dc.date.available | 2009-12-09T04:25:29Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-17T00:24:09Z | |
dc.date.issued | 2552 | en_US |
dc.identifier.other | hs1636 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/2816 | en_US |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนและวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคของระบบเฝ้าระวังสุขภาพที่เกิดจากปัญหาหมอกควันในจังหวัดเชียงใหม่ และจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการพัฒนาระบบเฝ้าระวังสุขภาพที่เกิดจากปัญหาหมอกควัน โดยมีวิธีการศึกษา คือ การทบทวนรูปแบบการเฝ้าระวังของต่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและจังหวัดเชียงใหม่ ในกรณีการศึกษาในประเทศมีการสัมภาษณ์เชิงลึกบุคคลที่เกี่ยวข้องร่วมด้วย รวมทั้งมีการจัดเวทีระดมสมองจากผู้เชี่ยวชาญ ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบการเฝ้าระวังด้านอาชีวอนามัยที่อาจเหมาะสมกับบริบทประเทศไทยคือ การเฝ้าระวังโรคเรื้อรังและปัจจัยเสี่ยงของโรคแบบเป็นขั้นตอนขององค์การอนามัยโลก เรียกว่า WHO STEPwise approach to Surveillance หรือ STEPS โดยใช้วิธีการสร้างตัวชี้วัดตาม DPSEEA Model ซึ่งพัฒนาโดยองค์การอนามัยโลก สำหรับการเผยแพร่ผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากระบบเฝ้าระวังสามารถใช้รูปแบบของระบบเฝ้าระวังสุขภาพและมลพิษทางอากาศโดยใช้อินเทอร์เน็ต (Internet-based Health & Air Pollution Surveillance System-iHAPSS) พัฒนาโดยมหาวิทยาลัยจอห์น ฮอพกินส์ สำหรับข้อเสนอแนะเชิงนโยบายคือ กระทรวงสาธารณสุขน่าจะเป็นเจ้าภาพหลักในการกำหนดรูปแบบการเฝ้าระวัง ระบบฐานข้อมูล ตัวชี้วัดและขั้นตอนการเฝ้าระวังโดยละเอียด และควรจัดทำคู่มือการเฝ้าระวังสุขภาพจากปัญหาหมอกควันเพื่อให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในแต่ละพื้นที่สามารถใช้เป็นแนวทางในการดำเนินการได้ นอกจากนี้ควรจัดให้มีการฝึกอบรมแก่เจ้าหน้าที่ให้มีศักยภาพในการวินิจฉัยโรคที่เกี่ยวข้องกับหมอกควัน รวมทั้งการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติที่เหมาะสมในการเชื่อมโยงปัญหาสุขภาพกับสารมลพิษในอากาศได้ สำหรับจังหวัดเชียงใหม่ควรพัฒนาระบบเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพจากหมอกควันต้นแบบขึ้นในจังหวัด โดยให้ความสำคัญกับระบบการรายงานข้อมูล ความถี่ของการรายงาน การวิเคราะห์เชื่อมโยงข้อมูลระดับสารมลพิษในอากาศและปัญหาสุขภาพ รวมทั้งการนำผลการวิเคราะห์ข้อมูลมาใช้ในการเตือนภัยหรือจัดการปัญหาหมอกควันอย่างจริงจัง นอกจากนี้ควรส่งเสริมให้เกิดระบบเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพจากหมอกควันในรูปแบบของประชาชนทั่วไปด้วย | en_US |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.format.extent | 2111109 bytes | en_US |
dc.format.mimetype | application/zip | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | en_US |
dc.subject | การควบคุมมลพิษ | en_US |
dc.subject | หมอกควัน | en_US |
dc.subject | อนามัยสิ่งแวดล้อม | en_US |
dc.subject | มลพิษทางอากาศ | en_US |
dc.subject | การส่งเสริมสุขภาพ | en_US |
dc.subject | ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) | th_TH |
dc.subject | ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) | th_TH |
dc.title | การประเมินระบบเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพจากหมอกควัน ในจังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | The Assessment of Health Surveillance System for Haze in Chiang Mai | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |
dc.description.abstractalternative | The objective of this study was to review and analyze the problems and obstacles of health surveillance system for haze in Chiang Mai including to propose policy recommendations for the development of health surveillance system for haze. The study methods were literature reviews of health surveillance systems in overseas countries, in Ministries of Public Health and Natural Resources and Environment, and in Chiang Mai province. For domestic reviews, the related governmental officials were in-depth interviewed. In addition, the experts in the field had been convened for brainstorming.
The results showed that the surveillance system that might be suitable to Thailand is the World Health Organization’s STEPwise approach to Surveillance or STEPS, by using model so-called DPSEEA Model developed by the World Health Organization to construct the health indicators. In regard to data dissemination derived from surveillance system, the Internet-based Health & Air Pollution Surveillance System (iHAPSS) developed by the John Hopkins University is recommended. The recommendations for the policy makers are that the Ministry of Public Health should play a major role in setting the health surveillance system including database system, health indicators and steps of surveillance in full details. Furthermore, it should develop a manual of health surveillance system for haze for the health personnel to use as a guildline. There should be also training courses for the health personnel to upgrade their capacity in diagnosing haze-related health problems and in statictical analysis to link the health problems and air pollutants. For Chiang Mai province level, the role model of health surveillance system for haze should be developed by focusing on reporting system, frequency of reports, linkage analysis of air pollutants and health problems, including on the utilization of data analyses to seriously warn or manage the haze problems. Additionally, the health surveillance system for haze in general population version should be promoted. | en_US |
dc.identifier.callno | WA30 พ156ก 2552 | en_US |
dc.identifier.contactno | 52-010 | en_US |
dc.subject.keyword | ระบบเฝ้าระวังสุขภาพ | en_US |
dc.subject.keyword | การพัฒนาระบบสุขภาพและสิ่งแวดล้อม | en_US |
.custom.citation | พงศ์เทพ วิวรรธนะเดช and มยุรา วิวรรธนะเดช. "การประเมินระบบเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพจากหมอกควัน ในจังหวัดเชียงใหม่." 2552. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2816">http://hdl.handle.net/11228/2816</a>. | |
.custom.total_download | 208 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 11 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 2 | |