Show simple item record

แนวทางการศึกษาหลักการชดเชยของศาลในคดีสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

dc.contributor.authorสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทยen_US
dc.contributor.authorThailand Development Research Instituteen_EN
dc.date.accessioned2009-12-24T03:40:40Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-17T00:24:20Z
dc.date.available2009-12-24T03:40:40Zen_US
dc.date.available2557-04-17T00:24:20Z
dc.date.issued2552-10en_US
dc.identifier.otherhs1647en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/2846en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้ได้ใช้ข้อมูลจากกรณีศึกษาในประเทศไทย 6 กรณีเพื่อศึกษาถึงหลักการการกำหนดค่าชดเชยให้กับผู้ได้รับผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ โดยให้ค่าชดเชยที่ศาลกำหนดขึ้นสะท้อนความเสียหายของสิ่งแวดล้อมและความเสียหายทางสุขภาพของประชาชนอย่างแท้จริงทั้งในแง่มุมของหลักการประเมินมูลค่าที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ และการกำหนดรายการค่าใช้จ่ายให้ครอบคลุมผลกระทบหรือความเดือดร้อนที่ผู้ได้รับผลกระทบต้องเผชิญตามความเป็นจริง ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมกับผู้ที่เสียหายในคดีละเมิดทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและผู้ที่ต้องรับผิดชอบค่าเสียหายด้วย จาก 6 กรณีศึกษาพบว่า 1) คดีการฟ้องร้องมักขาดหลักฐานเชื่อมโยงการกระทำผิด 2) ระยะเวลาและขั้นตอนในการพิจารณาคดีสำหรับคดีสิ่งแวดล้อมและสุขภาพใช้เวลานาน และมีค่าใช้จ่ายในการนำสืบพยานซึ่งกระทบต่อผู้ฟ้องหรือโจทก์ที่รายได้น้อย 3) การฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายต้องมีหลักฐานทางวิชาการมาสนับสนุนการพิจารณาคดี 4) ศาลไม่กำหนดค่าใช้จ่ายบางประเภทให้เนื่องจากไม่มีหลักฐานที่ชัดเจน 5) ค่าชดเชยบางประเภทมีความแตกต่างกันขึ้นกับดุลยพินิจของศาล จากผลของการวิเคราะห์กรณีศึกษาข้างต้น และทบทวนหลักการชดเชยของศาลในต่างประเทศ การศึกษานี้เสนอว่าหลักการการกำหนดค่าชดเชยให้กับผู้ได้รับผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพที่สำคัญมี 5 ประการด้วยกันคือ 1) ระบุสาเหตุของปัญหาให้ชัดเจน ทั้งสาเหตุด้านกายภาพและสาเหตุด้านการบริหารที่ผิดพลาด 2) กำหนดผู้มีสิทธิและความรับผิดชอบ 3) ประเมินมูลค่าความเสียหายด้วยวิธีการที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ 4) หลีกเลี่ยงปัญหาการกำหนดค่าชดเชยซ้ำซ้อน 5) ระบุผู้ที่ต้องจ่ายค่าชดเชยและผู้ที่มีสิทธิได้รับค่าชดเชย การมีหลักการที่ถูกต้องจะทำให้การกำหนดมูลค่าการกำหนดชดเชยของศาลที่แม่นยำและเป็นธรรมกับทั้งผู้ที่ได้รับความเสียหายเพื่อจะได้ๆ รับค่าชดเชยที่ถูกต้องและผู้ที่กระทำผิดจะได้รับผิดชอบตามมูลค่าความเสียหายที่แท้จริง ซึ่งจะนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้กระทำผิดให้มีการระมัดระวังต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนมากขึ้น และทำให้กระบวนการทางศาลเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาที่ยั่งยืนen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent1653159 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/zipen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectการส่งเสริมสุขภาพen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleแนวทางการศึกษาหลักการชดเชยของศาลในคดีสิ่งแวดล้อมและสุขภาพen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.description.abstractalternativeThe study looks into six cases of health and environmental damage compensation in Thailand. The study aims to provide an economic foundation for determining the economic value of health and environmental damages to be compensated to the victims. These economic values will reflect the true opportunity cost of natural resource and environmental damage forgone hence will enable the court system to arrive at a more accurate value of compensation. Accuracy in court compensation will be achieved under three conditions, they are, accuracy in terms of the economic value of the damages, a complete coverage of items to be compensated and a complete list of both the liable parties involved and the concern beneficiaries to whom compensation is to be made. From the six cases the study found that 1) health and environmental litigation frequently lacks evidence that will provide linkages between the source of pollution and the health or environmental outcome, 2) legal processes are time consuming and involve substantial legal expenses that can become a burden to the low income families, 3) legal procedures rely heavily on concrete scientific evidence that can be difficult to obtain, 4) the Thai court system does not provide compensation when lack of concrete evidence, and 5) the amount of compensation often vary depending on court judgment. From reviewing the five cases the study makes the following recommendations that will enhance health and environmental damage compensation of the Thai court system. First, the causes, both scientific and administrative, of environmental damages need to be carefully assessed. Second, the rights of the parties concerned have to be clearly specified. Third, court compensation should be based on sound economic valuation fundamentals. Forth, compensation scheme ought not involve double counting error. Fifth, compensation procedures ought to involve all the liable parties and all the rightful victims. Not only an increase in the accuracy of damage compensation will provide fairness to all the parties concern it will also play a role as incentives and disincentives mechanism and hence help promote sustainable development in Thailand.en_US
dc.identifier.callnoWA30 น927 2552en_US
dc.identifier.contactno52-021en_US
dc.subject.keywordการชดเชยของศาลen_US
dc.subject.keywordสิ่งแวดล้อมen_US
dc.subject.keywordสุขภาพen_US
.custom.citationสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย and Thailand Development Research Institute. "แนวทางการศึกษาหลักการชดเชยของศาลในคดีสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ." 2552. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2846">http://hdl.handle.net/11228/2846</a>.
.custom.total_download45
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year1
.custom.downloaded_fiscal_year1

Fulltext
Icon
Name: hs1647.pdf
Size: 1.794Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record