dc.contributor.author | ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ | en_US |
dc.date.accessioned | 2009-12-29T05:58:51Z | en_US |
dc.date.accessioned | 2557-04-17T00:24:11Z | |
dc.date.available | 2009-12-29T05:58:51Z | en_US |
dc.date.available | 2557-04-17T00:24:11Z | |
dc.date.issued | 2551-10 | en_US |
dc.identifier.other | hs1651 | en_US |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/2852 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงเอกสารนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนองค์ความรู้มาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผู้เสพสารหรือผู้ติดสารเสพติด ผลการศึกษา พบว่า สารเสพติดแต่ละประเภทมีอันตรายและความจำเป็นในทางการแพทย์ต่างกัน พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 แบ่งยาเสพติดออกเป็น 5 ประเภท ได้แก่ (1) ยาเสพติดให้โทษชนิดร้ายแรง (2) ยาเสพติดให้โทษทั่วไป (3) ยาเสพติดให้โทษที่มีลักษณะเป็นต้นตำรับยา และมียาเสพติดให้โทษประเภท 2 ผสมอยู่ (4) ยาเสพติดประเภท 4 สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษประเภท 1 หรือ 2 และ (5) ยาเสพติดให้โทษที่ไม่เข้าอยู่ในประเภท 1 ถึง 4 ฐานแนวคิดและปรัชญาเกี่ยวกับมาตรการลงโทษแก่ผู้ติดยาเสพติดแต่เดิมนั้น มีเหตุผลเพื่อการแก้แค้นทดแทน การข่มขู่ยับยั้งและการชดใช้ความเสียหาย ในปัจจุบันเน้นมาตรการที่หลากหลายและเหมาะสมกับผู้กระทำผิด สภาพความผิด ลดการใช้มาตรการจำคุก (Imprisonment) และเน้นการใช้มาตรการชุมชนเป็นปัจจัยสำคัญโดยแบ่งระดับการลงโทษในลักษณะที่หลากหลายตามความหนักเบาของความผิด พระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. 2545 ได้นำหลักการผู้เสพ “ผู้ป่วยมิใช่อาชญากรปกติ” มาใช้เช่นเดียวกับกรณีที่ถือว่าผู้ติดยาเสพติดเป็นผู้ป่วยที่ต้องรับการบำบัดรักษาหรือฟื้นฟูสมรรถภาพ นำหลักการชะลอการฟ้องมาใช้เพื่อให้ระบบแทนการดำเนินคดีอาญมีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น การใช้มาตรการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพ ตัดวงจรของยาเสพติดด้วยการแยกผู้เสพติดออกมาบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพทั้งโดยระบบสมัครใจและระบบบังคับ การจัดให้มีระบบการติดตาม ช่วยเหลือ และให้กำลังใจแก่ผู้ที่ผ่านการบำบัดฟื้นฟูเพื่อสามารถกลับคืนสู่ครอบครัว ชุมชน และดำรงชีวิตได้อย่างปกติสุข เนื่องจากได้มีการป้องกันการนำกฎหมายนี้ไปใช้เป็นเครื่องมือของผู้ค้ายาเสพติดในการที่จะหลีกเลี่ยงการถูกฟ้องร้องลงโทษ ด้วยการแกล้งเป็นผู้เสพยาเสพติดก่อนในขณะหรือภายหลังถูกจับกุม ผู้นั้นไม่มีสิทธิได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตามพระราชบัญญัตินี้ ให้คณะอนุกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดแจ้งให้พนักงานสอบสวนหรืออัยการแล้วแต่กรณี มารับตัวผู้นั้นไป เพื่อดำเนินคดีต่อไปตามกฎหมาย จากการทบทวนงานวรรณกรรมในช่วงปี พ.ศ. 2547-48 ผลงานวิจัยที่ได้ศึกษามาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผู้เสพสารหรือผู้ติดสารเสพติด พบว่า พระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. 2545ได้เน้นการบังคับบำบัดผู้ติดยาเสพติด ดังนั้น การมีสถานที่ฟื้นฟูผู้ติดสารเสพติดจึงมีความสำคัญมาก แต่สำนักงานคุมประพฤติบางพื้นที่ไม่มีสถานฟื้นฟูฯ หรือมีค่อนข้างจำกัด นอกจากนี้การจัดเก็บสถิติผู้เข้ารับการตรวจพิสูจน์ การปรับให้เป็นปัจจุบันยังมีข้อจำกัด | en_US |
dc.description.sponsorship | สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ,สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) และโครงการจัดการองค์ความรู้เรื่องยาเสพติด (อสต.) | en_US |
dc.format.extent | 1747571 bytes | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | โครงการจัดการองค์ความรู้เรื่องยาเสพติด | en_US |
dc.rights | โครงการจัดการองค์ความรู้เรื่องยาเสพติด | en_US |
dc.subject | ยาเสพติด | en_US |
dc.subject | ยาเสพติด--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | en_US |
dc.subject | ปัจจัยคุกคามสุขภาพ | en_US |
dc.subject | ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) | th_TH |
dc.title | มาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผู้เสพสารหรือผู้ติดสารเสพติด | en_US |
dc.title.alternative | Legal Measures Involved Drug Substance Users | en_US |
dc.type | Technical Report | en_US |
dc.description.abstractalternative | The objective of this documentary research is to review knowledge related to legislative measures in connection with addicts. Results of this research indicated that each addictive substance is harmful and has medical necessity differently. According to the Addictive Substances Law, 2522 B.E. categorized addictive substances into 5 separate classes.
1. Most potent addictive substances
2. General addictive substances
3. Addictive substances which are derivatives of medicinal effect and has some category 2 addictive substances
4. Addictive substances which are chemicals used in producing category 1 and 2 addictive substances
5. Any addictive substances which are not included in the previous four categories
Basic concept and philosophy related to punishment measures for addicts is for retributive reasons, in order to control and paying for punitive damages. At present, measures for punishment are of many varieties, to be suitable for those who committed wrongful deeds, and nature of crime. There is less imprisonment measures and emphasize on community penalties as priority, by categorize punishment levels according to severity of the crimes committed.
The Law on Rehabilitations of Addicts, 2545 B.E., brought in the principle of drug user as patient, not criminal. This law considers drug addicts as patients who need curative or rehabilitative care. The law delays the use of court of justice, in order to replace criminal justice system for a better diversion. Curative and rehabilitative processes are effective in separating addicts for a complete patient care, both by voluntarily and enforcement. The complete patient care system provides follow-up system, support system, and encouragement for those who have gone through the curative and rehabilitative process, in order for them to be able to return to family, community and living normally.
There are preventive measures for drug traders, who pretend to be addicts, before or after being arrested, to use this law in order to avoid criminal justice system. These drug traders do not have the rights for rehabilitative process according to this law. The sub-committee on rehabilitative process for addicts should inform authority or prosecutor, to pursue criminal justice process.
By reviewing literature during 2547-2548 B.E., researches which study legal measures related to drug addicts, indicated that the Law on Rehabilitations of Addicts, 2545 B.E., emphasizes forced rehabilitative process for addicts. Therefore, having institutions for rehabilitative process for addicts is of vital importance, but some areas do not have such institutions, or limited space for addicts in such institutions. Moreover, there are some limitations for keeping up-to-date statistics of those who have gone through the process of proven for curative and rehabilitative process. | en_US |
dc.identifier.callno | KC2.19 ฉ63ม 2551 | en_US |
dc.subject.keyword | สารเสพติด | en_US |
dc.subject.keyword | ผู้ติดสารเสพติด | en_US |
.custom.citation | ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ. "มาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผู้เสพสารหรือผู้ติดสารเสพติด." 2551. <a href="http://hdl.handle.net/11228/2852">http://hdl.handle.net/11228/2852</a>. | |
.custom.total_download | 133 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 8 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 0 | |