การพัฒนาระบบการเชื่อมโยงข้อมูล/ฐานข้อมูลสถานีอนามัยและศูนย์สุขภาพชุมชน จากจังหวัดมาส่วนกลาง เพื่อการใช้ประโยชน์ร่วมกันใน 6 จังหวัดนำร่อง(จังหวัดนนทบุรี จังหวัดราชบุรี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดอ่างทอง จังหวัดกาฬสินธุ์ และจังหวัดพิจิตร)
Date:
2552
ผลงานวิชาการเหล่านี้เป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข หากมีการนำไปใช้อ้างอิง โปรดอ้างถึงสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะเจ้าของลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติสงวนลิขสิทธิ์สำหรับการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ |
Fulltext
Total downloads:
Today: | 0 |
This month: | 0 |
This budget year: | 2 |
This year: | 6 |
All: | 202 |
Collections
-
Research Reports [2433]
งานวิจัย
Related items
Showing items related by title, author, creator and subject.
-
การพัฒนาตัวแบบระบบสุขภาพปฐมภูมิขององค์การบริหารส่วนจังหวัดและแนวทางการขับเคลื่อนการบูรณาการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและการมีส่วนร่วมของประชาชน: กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุพรรณบุรีและองค์การบริหารส่วนจังหวัดปราจีนบุรี
ธัชเฉลิม สุทธิพงษ์ประชา; Tatchalerm Sudhipongpracha; โกเมนทร์ ทิวทอง; Komain Tewtong; อนุวัตร แก้วเชียงหวาง; Anuwat Kaewchiangwang; ทองดี มุ่งดี; Tongdee Mungdee; บัณฑิต ตั้งเจริญดี; Bundit Tungcharoendee; ภัชร์จิรัสม์ ธัชเมฆรัตน์; Pachjirat Thachmakerat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)การถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้แก่องค์การบริหารส่วนจังหวัดเป็นไปตามความพร้อมและความสมัครใจขององค์การบริหารส่วนจังหวัดซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 มีองค์การบริหารส่วนจังหวัด 6 แห่ง ที่รับถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุข ...Tags:Recommended -
การวิเคราะห์พลวัตระบบของปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในภาคประชาชน รูปแบบระดับจังหวัด : กรณีศึกษาจังหวัดนครนายก
อิสรีย์ฐิกา ชัยสวัสดิ์ จันทร์ส่องสุข; Isareethika Jayasvasti Chantarasongsuk; นิภาพร เอื้อวัณณะโชติมา; Nipaporn Urwannachotima; พาสน์ ทีฆทรัพย์; Pard Teekasap (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-10)งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบความสัมพันธ์ของปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลของภาคประชาชนด้วยแนวคิดของระบบที่ซับซ้อนและมีการเปลี่ยนแปลงตามเวลาโดย 1) การสร้างวงจรความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ... -
การจัดการระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิในเขตเมือง กรณีศึกษาจังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดบุรีรัมย์
วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; เอนก มุ่งอ้อมกลาง; Anek Mungaomklang; อังคณา สมนัสทวีชัย; Angkana Sommanustweechai; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)จังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดบุรีรัมย์เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ที่มีโรงพยาบาลศูนย์อยู่ในอำเภอเมืองโรงพยาบาลศูนย์นี้ต้องให้บริการทั้งผู้ป่วยในเขตอำเภอเมือง ในเขตจังหวัด และเขตพื้นที่ของจังหวัดอื่นที่อยู่ใกล้เคียง ทำให้มีภาระมาก ...