แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การประเมินระบบทะเบียนราษฎรและสถิติชีพแบบเร็ว : กรณีศึกษาประเทศไทย

dc.contributor.advisorเทียม อังสาชนen_US
dc.contributor.advisorTiem Ungsachonen_US
dc.contributor.advisorดาวฤกษ์ สินธุวณิชย์en_US
dc.contributor.advisorDaorirk Sintuvanichen_US
dc.contributor.authorบุญชัย กิจสนาโยธินen_US
dc.contributor.authorBoonchai Kijsanayotinen_US
dc.contributor.authorคเณศ สัมพุทธานนท์en_US
dc.contributor.authorKanet Sumputtanonen_US
dc.contributor.authorเพียงหทัย อินกันen_US
dc.contributor.authorPianghatai Ingunen_US
dc.date.accessioned2014-01-16T07:44:55Zen_US
dc.date.accessioned2557-04-16T17:06:27Z
dc.date.available2014-01-16T07:44:55Zen_US
dc.date.available2557-04-16T17:06:27Z
dc.date.issued2556-03en_US
dc.identifier.isbn9786161119140en_US
dc.identifier.isbn9786161119126en_US
dc.identifier.otherhs2089en_US
dc.identifier.otherhe0136en_US
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/3945en_US
dc.description.abstractสถิติชีพ (Vital Statistics) เป็นดัชนีชี้วัดสำคัญในการติดตามความสำเร็จของเป้าหมายการพัฒนาสหัสวรรษ (MDG-Millennium Development Goal) อันเป็นมติที่สำคัญขององค์การสหประชาชาติ (United Nation) สถิติชีพที่มีความถูกต้อง เชื่อถือได้นอกจากจะช่วยให้ประเทศติดตามความก้าวหน้าในการพัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนในประเทศ ตาม MDG แล้วยังเป็นสถิติที่สำคัญในการวางแผนการพัฒนาและการจัดการของหลายหน่วยงาน แหล่งข้อมูลที่ดีที่สุดของสถิติชีพคือระบบทะเบียนราษฎร(Civil Registration) ที่มีประสิทธิภาพ กว่าครึ่งของประเทศในโลกไม่มีระบบทะเบียนราษฎรและสถิติชีพหรือมีแต่ไม่มีประสิทธิภาพ องค์การสหประชาชาติและองค์การอนามัยโลก(World Health Organization WHO) เห็นความสำคัญในเรื่องนี้และสนับสนุนให้ประเทศต่างๆดำเนินการประเมินสถานการณ์และหาทางพัฒนาระบบทะเบียนราษฎร และสถิติชีพของตนให้มีประสิทธิภาพขึ้นในปี 2554 องค์การอนามัยโลกร่วมกับมหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์ ประเทศออสเตรเลียได้พัฒนาเครื่องมือมาตรฐานการประเมินและคู่มือพัฒนาระบบทะเบียนราษฎรและสถิติชีพของประเทศ (Strengthening practice and systems in civil registration and vital statistics: A Resource Kit) ขึ้น องค์การอนามัยโลกและหลายองค์กรภายใต้องค์การสหประชาชาติ เช่น UNESCAP สนับสนุนให้ประเทศต่างๆ นำเครื่องมือและคู่มือนี้ไปปรับใช้ ประเทศไทยแม้จะมีระบบทะเบียนราษฎรและสถิติชีพมานานหลายสิบปี แต่ยังไม่เคยมีการประเมินระบบทะเบียนราษฎรและสถิติชีพของประเทศอย่างเป็นระบบ ศูนย์พัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย (ศมสท.) เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข(สวรส.) จึงรับเป็นหน่วยประสานงานหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบทะเบียนราษฎรและสถิติชีพ เช่น กรมการปกครองกระทรวงมหาดไทย สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ ดำเนินการประเมินระบบทะเบียนราษฎรและสถิติชีพของประเทศไทยโดยใช้เครื่องมือประเมินขององค์การอนามัยโลกดังกล่าวข้างต้น รายงานฉบับนี้เป็นรายงานการประเมินระบบทะเบียนราษฎรและสถิติชีพแบบเร็ว (Rapid assessment of Civil registration and vital statistics) ที่ได้ดำเนินงานในปี 2555 เนื้อหาในรายงานประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก คือ บทที่ 1 กล่าวถึงที่มาและความสำคัญ บทที่ 2กล่าวถึงวัตถุประสงค์ เครื่องมือ และกระบวนการประเมินฯ บทสุดท้ายเป็นผลการการประเมินฯ พร้อมข้อเสนอแนะ ผู้จัดทำรายงานหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์กับผู้บริหาร ผู้เกี่ยวข้อง และผู้สนใจการระบบทะเบียนราษฎรและสถิติชีพของประเทศไทย เพื่อนำไปใช้ในการพัฒนาระบบทะเบียนราษฎรและสถิติชีพของประเทศให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นen_US
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.format.extent1075442 bytesen_US
dc.format.extent1129103 bytesen_US
dc.format.mimetypeapplication/zipen_US
dc.format.mimetypeapplication/zipen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขen_US
dc.subjectระบบข้อมูลen_US
dc.subjectสุขภาพen_US
dc.subjectระบบทะเบียนราษฎรen_US
dc.subjectสถิติชีพen_US
dc.subjectการประเมินระบบทะเบียนราษฎรen_US
dc.subjectCivil Registrationen_US
dc.subjectVital Statisticsen_US
dc.subjectข้อมูลสุขภาพen_US
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการประเมินระบบทะเบียนราษฎรและสถิติชีพแบบเร็ว : กรณีศึกษาประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeRapid Assessment of National Civil Registration and Vital Statistics Systems: A case study of Thailanden_US
dc.typeDocumenten_US
dc.description.abstractalternativeVital statistics provide essential information for monitoring the progress towards achieving the United Nations Millennium Development Goals (MDGs). Well-functioning and reliable civil registration and vital statistics systems (CRVS systems) are not only needed for national development, monitoring and evaluation systems, but also for organizations to plan and manage their operation and programs. Well-functioning civil registration systems are the best data source for reliable vital statistics. However, more than half of the countries around the world do not have CRVS systems or, if they do, they do not function well. The United Nations (UN) and the World Health Organization (WHO) recognize and are aware of this issue and are facilitating member countries to evaluate and improve their CRVS systems. In 2011, WHO and the University of Queensland, Australia, developed a standard tool called, “Strengthening practice and systems in civil registration and vital statistics: A Resource Kit ”, in order to strengthen CRVS systems. WHO and many UN organizations, such as the United Nations Economic and Social Commission for Asia and the Pacific (ESCAP), encourage and assist member countries to use this tool. CRVS systems have existed in Thailand for many decades, but have not been systematically evaluated. Therefore, an assessment was a key step to understanding the status of the current system and identifying areas that need improvement. The Thai Health Information Standards Development Center (THIS) and other key stakeholders, such as the Ministry of Public Health, National Statistics Office, and Ministry of Interior, came together to evaluate the CRVS system using the WHO Rapid Assessment of National Civil Registration and Vital Statistics Systems tool. This report outlines the methodology and findings from this rapid assessment. It contains three main sections: chapter one describes the background and history of Thailand’s CRVS system; chapter two describes the assessment objectives, the tool and evaluation process; and the final chapter provides an analysis of results and recommendations. It is hoped that the assessment will be informed Thai policy makers, administrators and others involved in CRVS of the system’s strengths and weaknesses and hope to gain their support for further improvment system.en_US
dc.identifier.callnoHB1322 บ426ก 2556en_US
dc.identifier.callnoW26.5 B426r 2013en_US
dc.identifier.contactnoT56-15en_US
.custom.citationบุญชัย กิจสนาโยธิน, Boonchai Kijsanayotin, คเณศ สัมพุทธานนท์, Kanet Sumputtanon, เพียงหทัย อินกัน and Pianghatai Ingun. "การประเมินระบบทะเบียนราษฎรและสถิติชีพแบบเร็ว : กรณีศึกษาประเทศไทย." 2556. <a href="http://hdl.handle.net/11228/3945">http://hdl.handle.net/11228/3945</a>.
.custom.total_download432
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year1
.custom.downloaded_fiscal_year0

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs2089.pdf
ขนาด: 2.876Mb
รูปแบบ: PDF
Icon
ชื่อ: he0136.pdf
ขนาด: 2.714Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย