แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การพัฒนาเครือข่ายพยาบาล/ผู้รับผิดชอบงานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับ/ในการควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจังหวัดเชียงใหม่

dc.contributor.authorศิริพร จิระศักดิ์th_TH
dc.contributor.authorSiriporn Jirasaken_US
dc.contributor.authorสุมิตรา ปัญญาทิพย์th_TH
dc.contributor.authorSumitra Punyatipen_US
dc.contributor.authorเจษฎา ก้อนแก้วth_TH
dc.contributor.authorJetsada Konkeawen_US
dc.contributor.authorลัดดา แสงหล้าth_TH
dc.contributor.authorLadda Sanglaen_US
dc.date.accessioned2015-09-14T09:33:04Z
dc.date.available2015-09-14T09:33:04Z
dc.date.issued2558-07
dc.identifier.otherhs2192
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4317
dc.description.abstractบทนำ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเป็นสถานบริการปฐมภูมิที่สำคัญในชุมชน การมีระบบการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อที่ได้มาตรฐานเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้คนในชุมชนมีสุขภาพดี ลดการแพร่กระจายเชื้อในชุมชน การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเครือข่ายพยาบาล/ผู้รับผิดชอบงานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจังหวัดเชียงใหม่ วิธีการศึกษา เป็นการวิจัยพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาล/ผู้รับผิดชอบงานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล 269 แห่ง ปัจจัยที่เป็นการพัฒนาเครือข่ายคือ การสร้างระบบพี่เลี้ยง การใช้กระบวนการกลุ่ม และจัดทำคู่มือแนวทางการปฏิบัติงานสำหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพก่อนและหลังให้ปัจจัยที่เป็นการพัฒนา ผลการศึกษา เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตั้งแต่ 17 เมษายน ถึง 15 ธันวาคม 2557 ด้วยระบบพี่เลี้ยงของจังหวัดเชียงใหม่ดำเนินการสำเร็จ การพัฒนาเครือข่ายและบุคลากรใช้กระบวนการกลุ่ม และนำคู่มือแนวปฏิบัติที่สร้างขึ้นไปสู่การปฏิบัติงาน ทำได้สำเร็จในกลุ่มเป้าหมายคิดเป็นร้อยละ 55.78 (150/269) ผลทำให้บุคลากรได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ และทำให้เครือข่ายมีความเข้มแข็ง ผลการประเมินความพึงพอใจของบุคคลากรเป้าหมายระดับมากร้อยละ 84 สรุป เครือข่ายพยาบาล/ผู้รับผิดชอบงานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการควบคุมการ ติดเชื้อในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดเชียงใหม่ ได้รับการพัฒนาโครงสร้างเครือข่ายพี่เลี้ยงที่ชัดเจนและเกิดความร่วมมือเป็นรูปธรรม จากการสนับสนุนของผู้บริหารและความร่วมมือของเครือข่ายทุกคน ซึ่งต้องมีการติดตามประเมินผลหลังสิ้นสุดโครงการต่อไปth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectการติดเชื้อในโรงพยาบาลth_TH
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.subjectกำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce)th_TH
dc.titleการพัฒนาเครือข่ายพยาบาล/ผู้รับผิดชอบงานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับ/ในการควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativeInfection control nurses networking for knowledge sharing Associated/in Nosocomial Infection Control Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeTechnical Reporten_US
dc.description.abstractalternativeBackground : Quality of infection control in primary care center is very important for community health. The study aimed to develop the primary health center networks of infection control in Chiang Mai province. Methods : An intervention study was conducted. Two hundred and sixty nine primary health centers were included the study. The interventions were a quality infection control network in Chiang Mai, group discussion for knowledge sharing and infection control guideline manual for primary health centers. Quantitative and qualitative data were collected and analyzed in order to describe impact of the intervention and factors associated successful of the network. Result : The primary health center networks of infection control in Chiang Mai province were developed. During 17th Apr – 15th Dec 2014, The intervention was implemented to 150 of 269 primary care centers (55.78%). The intervention strengthened the network and improved infection control knowledge of study population. Conclusion : Infection control nurses networking for knowledge sharing associated/in nosocomial infection control Chiang Mai province was developed by a quality infection control network in Chiang Mai. The effectiveness of the intervention and factors associated successful of the network are studying.en_US
dc.identifier.callnoWX167 ศ463ก 2558
dc.identifier.contactno57-059en_US
.custom.citationศิริพร จิระศักดิ์, Siriporn Jirasak, สุมิตรา ปัญญาทิพย์, Sumitra Punyatip, เจษฎา ก้อนแก้ว, Jetsada Konkeaw, ลัดดา แสงหล้า and Ladda Sangla. "การพัฒนาเครือข่ายพยาบาล/ผู้รับผิดชอบงานป้องกันและควบคุมการติดเชื้อเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับ/ในการควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลจังหวัดเชียงใหม่." 2558. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4317">http://hdl.handle.net/11228/4317</a>.
.custom.total_download179
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year19
.custom.downloaded_fiscal_year3

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs2192.pdf
ขนาด: 626.8Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย