Show simple item record

ภาระและระบบการดูแลโรคหลอดเลือดส่วนปลาย

dc.contributor.authorกิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษมth_TH
dc.contributor.authorอัมพิกา มังคละพฤกษ์th_TH
dc.contributor.authorปิยะมิตร ศรีธราth_TH
dc.contributor.authorณัฐพงศ์ โฆษชุณหนันท์th_TH
dc.contributor.authorอรินทยา พรหมินธิกุลth_TH
dc.contributor.authorกิเริ่น โซนี่th_TH
dc.contributor.authorชลลิสา จริยาเลิศศักดิ์th_TH
dc.contributor.authorนิมิตร อินปั๋นแก้วth_TH
dc.contributor.authorอันธิกา วงศ์ธานีth_TH
dc.date.accessioned2015-10-29T07:45:59Z
dc.date.available2015-10-29T07:45:59Z
dc.date.issued2558
dc.identifier.otherhs2210
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4344
dc.description.abstractจุดประสงค์: จากการศึกษาของกลุ่มวิจัยในอดีตพบว่าผู้ป่วยเบาหวานที่เป็นโรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายมีโอกาสเสียชีวิตสูงมากถึง 56.5% ในระยะเวลา 3 ปี กลุ่มวิจัยจึงมีความประสงค์เพื่อค้นหาสาเหตุ ปัจจัยเสี่ยงในการติดตามผู้ป่วยกลุ่มนี้เป็นเวลา 3 ปี ในรายงานฉบับนี้เป็นรายงานผลการศึกษาปีที่ 1 ซึ่งมุ่งเน้นการคัดกรองผู้ป่วยโรคหลอดเลือดส่วนปลายและแสดงผลการติดตามผู้ป่วยในเวลา 6 เดือน วิธีการศึกษา: ได้ทำการสำรวจโรคหลอดเลือดส่วนปลายโดยการตรวจโดยใช้การวัด Ankle brachial index (ABI) ในผู้ป่วยเบาหวานในโรงพยาบาล 3 จังหวัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ โรงพยาบาลลำพูนและโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ ตั้งแต่เดือน มิถุนายน 2557- กันยายน 2557 และหลังจากนั้นในผู้ป่วยที่รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคหลอดเลือดส่วนปลายจะได้ติดตามต่อไปอีก 3 ปี ผลการศึกษา: ได้ตรวจผู้ป่วยทั้งหมด 2,247 คนใน 3 โรงพยาบาล พบว่า มีผู้ป่วยโรคหลอดเลือดส่วนปลาย 286 คน คิดความชุกเป็น 12.7% ผู้ป่วยมีการดูแลด้านปัจจัยเสี่ยงพบอัตราที่เป็นตามเป้ามาตรฐานของการดูแลด้านความดันโลหิต systolic 33.2% การคุมเบาหวาน (HbA1C) 30.1% การคุมไขมัน LDL 18.9% จากการตามผู้ป่วยในรอบ 6 เดือนมีผู้เสียชีวิต 11 คน อีก 7 คนเป็นโรคหัวใจขาดเลือดที่ไม่เสียชีวิต และ 3 คนที่เป็นโรคหลอดเลือดสมองที่ไม่เสียชีวิต รวมเกิดปัญหาโรคหัวใจและหลอดเลือดและเสียชีวิตจำนวน 21 ครั้ง แต่สังเกตว่าปัจจัยเสี่ยงในรอบ 6 เดือนคุมได้แย่ลงเมื่อเทียบกับการตรวจครั้งแรกในด้านความดันโลหิตและเส้นรอบเอว สรุป: งานวิจัยนี้พบว่าความชุกของโรคหลอดเลือดส่วนปลายในผู้ป่วยเบาหวานพบ 12.7% ผู้ป่วย 82.5% ไม่มีอาการของโรคหลอดเลือดส่วนปลาย ดังนั้นมาตราการการตรวจ ABI ผู้ป่วยเบาหวานทุกคนควรต้องทำอย่างยิ่งเพื่อให้การดูแลที่เหมาะสม การคุมปัจจัยเสี่ยงทำได้ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน เนื่องจากจำนวนการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดสมองและการเสียชีวิตยังน้อยเกินกว่าที่การหาปัจจัยเสี่ยงได้ การศึกษาต้องการระยะเวลาที่ติดตามมากขึ้นจากการติดตามผู้ป่วยในปีที่ 2 และ 3th_TH
dc.description.sponsorshipสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช) และสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส)th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช) และสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส)th_TH
dc.subjectเบาหวานth_TH
dc.subjectโรคหลอดเลือดth_TH
dc.subjectโรคหลอดเลือดสมองth_TH
dc.subjectโรคหลอดเลือดหัวใจตีบth_TH
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleภาระและระบบการดูแลโรคหลอดเลือดส่วนปลายth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeObjectives: Since our previous study showed the 3 years mortality rate in diabetic patients with peripheral arterial disease (PAD) is very high (56.5%). The investigator therefore would like to evaluate the risk factors to determine the high cardiovascular morbidity and mortality in 3 years cohort study. In this first year report, we illustrated the screening PAD in diabetic patients and then showed the cardiovascular morbidity and mortality rate in 6 month period. Also the risk factors for atherosclerosis was scrutinized. Method: Between May 2014 and August 2014, consecutive eligible outpatients, aged ≥45 years with established DM in 3 hospitals in Northern Thailand, were invited to be involved in this study. History, physical exam and laboratory test were reviewed. Ankle brachial index ≤ 0.9 was considered PAD. Then patients were evaluated the percentage of risk factor control according to American Heart Association (AHA) criteria. ] Result: 2,247 diabetic patients were recruited for the study. 286 patients out of 2,247 were diagnosed PAD(12.7%). 236 PAD patients(82.5%) did not have any symptom of PAD namely intermittent claudication, rest pain, gangrene or ulcer. According to AHA criteria, the percentage of adequate control in low density lipoprotein, HbA1C and systolic blood pressure in PAD patients was 18.9, 30.1 and 33.2% respectively. In the 6 months follow up study, there were 11 death, 7 non- fatal myocardial infarction and 3 non-fatal stroke. Comparing with the first visit, the systolic blood pressure and waist circumference was worsening. Conclusion: The prevalence of PAD in diabetic patients was 12.7%. Most PAD in diabetic patients was asymptomatic. Therefore the ABI screening in all diabetic patients must be performed to early detection and proper management. The atherosclerotic risk factor control was poorly controlled in this group. The number of cardiovascular event was too small to analyse the risk factors to determine cardiovascular morbidity and mortality. More further data are needed.en_US
dc.identifier.callnoWK810 ก674ภ 2558
dc.identifier.contactno57-095th_TH
.custom.citationกิตติพันธุ์ ฤกษ์เกษม, อัมพิกา มังคละพฤกษ์, ปิยะมิตร ศรีธรา, ณัฐพงศ์ โฆษชุณหนันท์, อรินทยา พรหมินธิกุล, กิเริ่น โซนี่, ชลลิสา จริยาเลิศศักดิ์, นิมิตร อินปั๋นแก้ว and อันธิกา วงศ์ธานี. "ภาระและระบบการดูแลโรคหลอดเลือดส่วนปลาย." 2558. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4344">http://hdl.handle.net/11228/4344</a>.
.custom.total_download282
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year6
.custom.downloaded_fiscal_year0

Fulltext
Icon
Name: hs2210.pdf
Size: 1.643Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record