Show simple item record

The Study of Process Deployment Key Performance Indicators in 12 Health Areas

dc.contributor.authorจารุวรรณ ธาดาเดชth_TH
dc.contributor.authorCharuwan Tadadejen_US
dc.contributor.authorสิริมา มงคลสัมฤทธิ์th_TH
dc.contributor.authorSirima Mongkolsamliten_US
dc.contributor.authorณัฐกมล ชาญสาธิตพรth_TH
dc.contributor.authorNatkamol Chansatipornen_US
dc.contributor.authorรณภูมิ สามัคคีคารมย์th_TH
dc.contributor.authorRonnapoom Samakeekaromen_US
dc.date.accessioned2016-03-24T09:53:30Z
dc.date.available2016-03-24T09:53:30Z
dc.date.issued2558-10
dc.identifier.otherhs2240
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4417
dc.description.abstractแม้ว่าการวัดผลการดำเนินงานคือหัวใจของแนวคิดการพัฒนาเพื่อการจัดระบบบริการสุขภาพให้มีคุณภาพ และมาตรฐาน แต่หากขาดความรู้ใน“กระบวนการถ่ายทอด”ซึ่งเป็นจุดเชื่อมต่อสำคัญระหว่างแผนยุทธศาสตร์กับการปฏิบัติงานประจำวันให้สอดรับตามเป้าหมายของหน่วยงานแล้ว ผลที่เกิดตามมา คือ แผนยุทธศาสตร์ที่ทำมาอย่างดีต้องพบความล้มเหลว เมื่อนำไปปฏิบัติ เพราะไม่สามารถบรรลุผลได้ตามเป้าหมาย วัตถุประสงค์ และวิสัยทัศน์หน่วยงาน ปัจจุบัน 12 เขตสุขภาพได้นำตัวชี้วัดมาเป็นเครื่องมือประเมินผลและติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงาน ผลการทบทวนการรายงานผลตัวชี้วัด (26 ตัวหลัก) ตามยุทธศาสตร์ที่ 2 ของ 12 เขตสุขภาพในปีงบประมาณ พ.ศ.2557 ผู้วิจัยพบว่า มีเพียง 3 เขตสุขภาพที่รายงานตัวชี้วัดได้ถูกต้องตรงตามคำนิยาม มากกว่าร้อยละ 85 ส่วนการประเมินผลลัพธ์งานวิจัยนี้ยังไม่สามารถประเมินได้ เนื่องจากมีข้อจำกัดของข้อมูล และการรายงานผลตัวชี้วัดของเขตสุขภาพที่ยังทำได้ไม่สมบูรณ์ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1) ศึกษากระบวนการถ่ายทอดตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลักลงสู่การปฏิบัติใน 12 เขตสุขภาพ และ 2) ศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกระบวนการถ่ายทอดตัวชี้วัดใน 12 เขตสุขภาพ การศึกษาใช้รูปแบบการวิจัยผสมผสาน (Mixed Method) ด้วยวิธี Sequential Exploratory Design เริ่มด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก และการสนทนากลุ่ม ผู้ให้ข้อมูลหลักระดับผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานในเขตสุขภาพที่อยู่ในควอไทล์ที่ 4 และ 1 จำนวนทั้งหมด 44 คน จากนั้นวิเคราะห์เนื้อหาหลักด้วยตาราง และสรุปผลโดยนักวิจัยทั้ง 4 คน แล้วนำผลสรุปมาสร้างแบบสอบถามเพื่อนำไปศึกษาเชิงปริมาณ เก็บข้อมูลจากผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานจำนวน 942 คน ใน 12 เขตสุขภาพ ผลการตอบกลับจำนวน 540 คน คิดเป็นร้อยละ 57.3 ขอบเขตการวิจัยศึกษาเฉพาะยุทธศาสตร์ที่ 2 (การพัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพ มาตรฐาน ครอบคลุม ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้) ซึ่งมีตัวชี้วัด 26 ตัวหลักในปีงบประมาณ พ.ศ.2557th_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectการบริหารสาธารณสุขth_TH
dc.subjectตัวชี้วัดth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการศึกษากระบวนการถ่ายทอดตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลักลงสู่การปฏิบัติใน 12 เขตสุขภาพth_TH
dc.title.alternativeThe Study of Process Deployment Key Performance Indicators in 12 Health Areasen_US
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.identifier.callnoWA540.JT3 จ337ก 2558
dc.identifier.contactno57-109en_US
dc.subject.keywordการบริหารเขตสุขภาพth_TH
.custom.citationจารุวรรณ ธาดาเดช, Charuwan Tadadej, สิริมา มงคลสัมฤทธิ์, Sirima Mongkolsamlit, ณัฐกมล ชาญสาธิตพร, Natkamol Chansatiporn, รณภูมิ สามัคคีคารมย์ and Ronnapoom Samakeekarom. "การศึกษากระบวนการถ่ายทอดตัวชี้วัดผลการดำเนินงานหลักลงสู่การปฏิบัติใน 12 เขตสุขภาพ." 2558. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4417">http://hdl.handle.net/11228/4417</a>.
.custom.total_download178
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year6
.custom.downloaded_fiscal_year1

Fulltext
Icon
Name: hs2240.pdf
Size: 5.954Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record