แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อการดูแลคนพิการ

dc.contributor.authorวรลักษณ์ คงเด่นฟ้าth_TH
dc.contributor.authorWoralak Kongdenfhaen_EN
dc.contributor.authorศิรินาถ ตงศิริth_TH
dc.contributor.authorSirinart Tongsirien_EN
dc.contributor.authorธีรวุฒิ ทวีภัทรวงศ์th_TH
dc.contributor.authorTheerawut Thaweephattharawongen_EN
dc.contributor.authorจิรวัฒน์ กิตติเดชาth_TH
dc.contributor.authorเอกสิทธิ์ นาคราชth_TH
dc.contributor.authorชัชพงษ์ พงษ์พนาth_TH
dc.contributor.authorอุกฤษ์ สาระชาติth_TH
dc.date.accessioned2016-07-29T05:30:35Z
dc.date.available2016-07-29T05:30:35Z
dc.date.issued2559-03-24
dc.identifier.otherhs2262
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4456
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเก็บข้อมูลคนพิการที่ช่วยให้ care manager หรือผู้ให้บริการคนพิการสามารถนำข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการทำงานและประสานงานกับภาคส่วนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้ ทั้งนี้เนื่องจากการเก็บข้อมูลคนพิการโดยใช้แนวความคิด ICF นั้นสามารถระบุความต้องการของคนพิการได้ชัดเจนและรอบด้านมากขึ้น ไม่ได้เก็บข้อมูลแต่เฉพาะข้อมูลความต้องการด้านการรักษาพยาบาลทางการแพทย์แต่เพียงอย่างเดียว แต่ยังสะท้อนความต้องการด้านการศึกษา การประกอบอาชีพ และการอยู่ร่วมกันในสังคมของคนพิการได้ด้วย ดังนั้นแนวคิด ICF จึงมีความเหมาะสมอย่างยิ่งในการนำมาจัดเก็บข้อมูลคนพิการในงานวิจัยนี้ ซึ่งต้องการให้ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศที่พัฒนาขึ้นเป็นสื่อกลางในการสื่อสารกับบุคลากรที่มาจากต่างสาขาวิชาชีพ เพื่อสามารถให้บริการคนพิการแบบบูรณาการ (multidisciplinary approach) ได้ ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อการดูแลคนพิการถูกออกแบบเพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการผ่านกระบวนการจัดการดูแลรายกรณีในลักษณะของ conceptual framework ที่รวบรวมแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการดูแลรายกรณี การจัดเก็บข้อมูลสมรรถนะคนพิการตามหลักการ ICF และการใช้ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อสนับสนุนกระบวนการทำงานของผู้จัดการรายกรณี โดยคณะวิจัยเลือกที่จะพัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อการดูแลคนพิการในรูปแบบ web-based application ซึ่งเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลกลางที่จัดเก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการดูแลคนพิการทั้งหมด ทั้งนี้เนื่องจากการพัฒนาระบบในรูปแบบนี้สามารถช่วยในการตรวจสอบความถูกต้อง (input data validation) ของข้อมูลที่ care manager พิมพ์บนหน้าจอก่อนที่จะจัดเก็บลงฐานข้อมูล อีกทั้งยังช่วยให้ได้ข้อมูลครบสมบูรณ์มากกว่าการจัดเก็บด้วยโปรแกรมที่มีการจัดเก็บข้อมูลแบบแยกส่วน อาทิ spreadsheets ซึ่งในกรณีที่การนำส่งข้อมูลไม่ครบถ้วนนั้นจะทำให้เกิดความผิดพลาดเมื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์ใช้ประโยชน์ นอกจากนี้ระบบสารสนเทศที่พัฒนาขึ้นในรูปแบบนี้ยังสามารถช่วยในการส่งต่อข้อมูลระหว่างหน่วยงานต่างๆ ได้อย่างทันท่วงทีth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectเทคโนโลยีสารสนเทศด้านสุขภาพth_TH
dc.subjectInformation Systemsen_EN
dc.subjectสารสนเทศทางการแพทย์th_TH
dc.subjectระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems)th_TH
dc.titleระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อการดูแลคนพิการth_TH
dc.title.alternativeDisabilities Care Information Systemen_EN
dc.typeTechnical Reporten_EN
dc.identifier.callnoW26.5 ว275ร 2559
dc.identifier.contactno58-064
.custom.citationวรลักษณ์ คงเด่นฟ้า, Woralak Kongdenfha, ศิรินาถ ตงศิริ, Sirinart Tongsiri, ธีรวุฒิ ทวีภัทรวงศ์, Theerawut Thaweephattharawong, จิรวัฒน์ กิตติเดชา, เอกสิทธิ์ นาคราช, ชัชพงษ์ พงษ์พนา and อุกฤษ์ สาระชาติ. "ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อการดูแลคนพิการ." 2559. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4456">http://hdl.handle.net/11228/4456</a>.
.custom.total_download356
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year10
.custom.downloaded_fiscal_year0

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs2262.pdf
ขนาด: 10.22Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย