Show simple item record

Multi-Host Specific Immunochromatographic Test for Diagnosis of Human and Animal Pythiosis

dc.contributor.authorอลิสา (เดือนเพ็ญ) แสนดีth_TH
dc.date.accessioned2017-03-07T07:03:50Z
dc.date.available2017-03-07T07:03:50Z
dc.date.issued2559-08-30
dc.identifier.otherhs2317
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4664
dc.description.abstractโรค pythiosis เป็นโรคติดเชื้อที่เกิดจากจุลชีพ Pythium insidiosum การเกิดโรคพบในคนและสัตว์มีรายงานการติดเชื้อทั่วโลกโดยเฉพาะอย่างยิ่งภูมิประเทศที่ตั้งอยู่ในเขตสภาพอากาศร้อน กึ่งร้อน และอบอุ่น พบการติดเชื้อกระจายอยู่ทั่วโลกทั้งทวีปเอเชีย, อเมริกา, แอฟริกา ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ ซึ่งพบรายงานการติดเชื้อเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ การติดเชื้อนำมาซึ่งสาเหตุของการเกิดพยาธิสภาพที่รุนแรง เกิดการสูญเสียอวัยวะ พิการ และเสียชีวิตในอัตราสูง ปัจจุบันยังไม่มียาจำเพาะที่ใช้รักษาโรคอย่างได้ผล การรักษามักต้องอาศัยการผ่าตัดร่วมด้วย การวินิจฉัยโรคที่ถูกต้อง รวดเร็ว และใช้งานง่าย จึงมีความจำเป็นในการตรวจพบการติดเชื้อตั้งแต่เบื้องต้น ส่งผลให้การรักษามีประสิทธิภาพและช่วยลดความเจ็บปวด ลดการสูญเสียอวัยวะและชีวิตได้ งานวิจัยชิ้นนี้ได้พัฒนาชุดตรวจที่อาศัยหลักการอิมมูโนโครมาโตกราฟี (ICT) ที่ใช้วินิจฉัยโรค pythiosis ทั้งในคนและในสัตว์ โดยการใช้ bacterial protein A/G เป็นสารชีวโมเลกุลในการตรวจหา anti-P. insidiosum IgGs ในตัวอย่างซีรั่มจากคนและในสัตว์ (serodiagnosis) และเทียบประสิทธิภาพชุดตรวจ ICT กับวิธี ELISA ในการทดสอบกับตัวอย่างซีรั่มที่เป็นโรค pythiosis 85 ราย จากคน 28 ราย, จากสัตว์ ได้แก่ สุนัข 24 ราย, ม้า 12 ราย, กระต่าย 12 ราย และ วัว 9 ราย, ตัวอย่างที่ไม่เป็นโรค pythiosis จากคน 80 ราย และจากสัตว์ 63 ราย ซึ่งเป็นตัวอย่างคนและสัตว์ที่สุขภาพแข็งแรง หรือเป็นโรคธาลัสซีเมีย หรือเป็นโรคติดเชื้อชนิดอื่นๆ พบว่า ทั้งวิธี ELISA และ ICT มีค่าความจำเพาะในการทดสอบ 100% ในขณะที่ค่าความไวในการทดสอบด้วยวิธี ELISA และ ICT มีค่า 98.8% และ 90.6% ตามลำดับ ซึ่งตัวอย่าง ส่วนใหญ่ที่ให้ผลการทดสอบเป็นลบปลอมด้วย ICT เมื่อทดสอบด้วย ELISA จะแสดงค่าบวกอย่างอ่อน งานวิจัยนี้ได้ประสบความสำเร็จในการพัฒนาชุดตรวจ ICT ที่มีประสิทธิภาพสูง ใช้งานง่าย และรวดเร็วเพื่อใช้ตรวจโรค pythiosis ในคนและสัตว์ โดยมีประสิทธิภาพใกล้เคียงกับวิธี ELISAth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.), สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.), สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช), สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์, คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดีth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectImmunochromatographic testen_EN
dc.subjectPythium--diagnosisen_EN
dc.subjectไพเทียม--การวินิจฉัยth_TH
dc.subjectเชื้อรา--การวินิจฉัยth_TH
dc.subjectผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies)th_TH
dc.titleการพัฒนาชุดวินิจฉัยโรคพิธิโอซีสในคนและในสัตว์ด้วยวิธีอิมมูโนโครมาโตกราฟฟีth_TH
dc.title.alternativeMulti-Host Specific Immunochromatographic Test for Diagnosis of Human and Animal Pythiosisen_EN
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativePythiosis is a life-threatening infectious disease of both humans and animals living in Asia, Americas, Africa, and parts of Australia and New Zealand. The etiologic pathogen is the fungus-like organism Pythium insidiosum. The disease has high mortality and morbidity rates. Use of antifungal drugs are ineffective against P. insidiosum, leaving radical surgery the main treatment option. Prompt treatment leads to better prognosis of affected individuals, and could be achieved by early and accurate diagnosis. Since pythiosis has been increasingly reported worldwide, there is a need for a rapid, userfriendly, and efficient test that facilitates the diagnosis of the disease. This study aims to develop an immunochromatographic test (ICT), using the bacterial protein A/G, to detect anti-P. insidiosum IgGs in humans and animals, and compare its diagnostic performance with the established ELISA. Eighty-five serum samples from 28 patients, 24 dogs, 12 horses, 12 rabbits, and 9 cattle with pythiosis, and 143 serum samples from 80 human and 63 animal subjects in a healthy condition, with thalassemia, or with other fungal infections, were recruited for assay evaluation. Detection specificities of ELISA and ICT were 100.0%. While the detection sensitivity of ELISA was 98.8%, that of ICT was 90.6%. Most pythiosis sera, that were falsely read negative by ICT, were weakly positive by ELISA. In conclusion, a protein A/G-based ICT is a rapid, user-friendly, and efficient assay for serodiagnosis of pythiosis in humans and animals. Compared to ELISA, ICT has an equivalent detection specificity and a slightly lower detection sensitivity.en_EN
dc.identifier.callnoWC501 อ428ก 2559
dc.identifier.contactno57-051
dc.subject.keywordโรคพิธิโอซีสth_TH
.custom.citationอลิสา (เดือนเพ็ญ) แสนดี. "การพัฒนาชุดวินิจฉัยโรคพิธิโอซีสในคนและในสัตว์ด้วยวิธีอิมมูโนโครมาโตกราฟฟี." 2559. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4664">http://hdl.handle.net/11228/4664</a>.
.custom.total_download45
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month1
.custom.downloaded_this_year2
.custom.downloaded_fiscal_year5

Fulltext
Icon
Name: hs2317.pdf
Size: 364.8Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record