dc.contributor.author | วรัญญา จิตรบรรทัด | th_TH |
dc.contributor.author | Waaranya Jitbantad | en_US |
dc.contributor.author | พิมพวรรณ เรืองพุทธ | th_TH |
dc.contributor.author | Pimpawan Ruangput | en_US |
dc.contributor.author | สุพัตรา สหายรักษ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Supatra Sahairak | en_US |
dc.contributor.author | วัฒนา วาระเพียง | th_TH |
dc.contributor.author | Wattana Warapeang | en_US |
dc.date.accessioned | 2017-12-12T08:20:58Z | |
dc.date.available | 2017-12-12T08:20:58Z | |
dc.date.issued | 2560-06 | |
dc.identifier.other | hs2378 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/4808 | |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสมรรถนะอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในตำบลนาเคียน ให้สามารถทำหน้าที่เป็นผู้จัดการรายกรณีของคนพิการสูงอายุ และมีรูปแบบการให้การดูแลคนพิการสูงอายุในชุมชนที่ชัดเจนเป็นรูปธรรม โดยนำไปสู่การเป็นระบบหรือกลไกในชุมชนที่ขับเคลื่อนการดูแลสุขภาพคนพิการสูงอายุ ที่สามารถขยายผลไปยังพื้นที่ข้างเคียงได้โดยการดำเนินงานแบบมีส่วนร่วม (PAR) ของทีมผู้วิจัยกับชุมชนนาเคียน ต.นาเคียน อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช โดยใช้เทคนิค AIC ซึ่งประกอบด้วย การสร้างความรู้การสร้างแนวทางการพัฒนา การสร้างแนวปฏิบัติ และการประเมินผล โดยมี อสม.จำนวน 32 คน ร่วมดูแลคนพิการสูงอายุในชุมชน จำนวน 50 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบประเมิน การสัมภาษณ์ และนำข้อมูลมาวิเคราะห์โดยการวิเคราะห์เนื้อหา หาค่าเฉลี่ย และร้อยละ ผลการศึกษาพบว่า ระบบและกลไกในการขับเคลื่อน คือ การสร้างความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ และพัฒนาสมรรถนะให้อสม.สามารถดูแลคนพิการสูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยอสม.ที่ผ่านการอบรมทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ มีสมรรถนะเพิ่มขึ้นทุกด้าน มากที่สุดในด้านความรู้พื้นฐานในสิทธิของคนพิการสูงอายุ (ร้อยละ 97.34) ด้านความรู้ในการประเมินและคัดกรองภาวะสุขภาพ (ร้อยละ 95.78) สรุปรูปแบบการจัดการได้ดังนี้ 1) รพ.สต.สำรวจคนพิการสูงอายุในความรับผิดชอบ 2) ชี้แจงให้อสม.เข้าใจบทบาทของการเป็นผู้จัดการรายกรณี 3) จัดอบรมหลักสูตร “การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเป็นผู้จัดการรายกรณีในการดูแลคนพิการสูงอายุในชุมชน” 4) จัดทีมในการลงดูแล ฟื้นฟู คนพิการสูงอายุในชุมชน 5) บันทึกการลงเยี่ยมส่งทุกเดือน 6) รพ.สต.รวบรวมข้อมูล และกำกับติดตามการปฏิบัติงานของอสม. 7)ประสานหน่วยงานภายนอก ที่เกี่ยวข้องกับการช่วยเหลือ/ดูแลคนพิการสูงอายุ | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | อาสาสมัครสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | ผู้สูงอายุ | th_TH |
dc.subject | คนพิการ | th_TH |
dc.subject | คนพิการ--การดูแล | th_TH |
dc.subject | กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) | th_TH |
dc.title | การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเป็นผู้จัดการรายกรณีในการดูแลคนพิการสูงอายุในชุมชน | th_TH |
dc.title.alternative | Capacity Building of Community Volunteers to be Case Manager of Community Dwelling Elderly with Disabilities | en_US |
dc.type | Technical Report | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This research aims to 1) propel the handicapped elderly care in the community to
receive rehabilitation properly. 2.) developments in public health volunteers, a case
manager in the care of older people with disabilities in the community effectively 3) Create
a list of cases of people with disabilities. The cooperative research (PAR) of the research
team with the Nakean community in Nakhon-si-thammarat province using the AIC technique, which has the creation of knowledge, development guidelines, practice and evaluation. The sample are 32 village health volunteers who jointly take care of 50 elderly people with disabilities in the community. The data were collected using pre-post test. Data analysis by content analysis, mean and percentages. The study found that: The management pattern can be summarized as follows: 1) sub-district health promotion hospital explore elderly with disabilities 2) Clarify the role of case manager with public health volunteers. 3) Training course “Capacity Building of Community Volunteers to be Case Manager of Community Dwelling Elderly with Disabilities.” 4) Organize teams to take care of elderly with disabilities people in the community. 5) Record visit and sent to sub-district health promotion hospitals every month. 6) Sub-district health promotion hospitals monitor the performance of public health volunteers 7) coordinate with external agencies involved in helping and caring for the elderly disabled. Public health volunteers are trained in both theoretical and practical subjects pass 100 percent. After the training they have increased in all aspects. In terms of basic knowledge on the rights of elderly with disabilities people (97.34%), knowledge on health assessment and screening (95.78%). Thus The Department of Health Service ,Support Local administration and Subdistrict Health Promotion Hospital should a role in the health of people in the area. Especially bedside patients and should provide services that facilitate access to older with disabilities people. And should provide training for public health volunteers. | en_US |
dc.identifier.callno | W84.6 ว711ก 2560 | |
dc.identifier.contactno | 59-042 | |
dc.subject.keyword | คนพิการสูงอายุ | th_TH |
.custom.citation | วรัญญา จิตรบรรทัด, Waaranya Jitbantad, พิมพวรรณ เรืองพุทธ, Pimpawan Ruangput, สุพัตรา สหายรักษ์, Supatra Sahairak, วัฒนา วาระเพียง and Wattana Warapeang. "การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเป็นผู้จัดการรายกรณีในการดูแลคนพิการสูงอายุในชุมชน." 2560. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4808">http://hdl.handle.net/11228/4808</a>. | |
.custom.total_download | 1457 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 3 | |
.custom.downloaded_this_year | 41 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 9 | |