แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การศึกษาผลของวิธีการฟอกไต,ระดับการทำงานของไตก่อนการฟอกไต ต่ออัตราการเสียชีวิตและภาระต่อเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข โดยการติดตามผู้ป่วยไปข้างหน้า

dc.contributor.authorเกื้อเกียรติ ประดิษฐ์พรศิลป์th_TH
dc.contributor.authorKearkiat Praditpornsilpaen_EN
dc.contributor.authorปวีณา สุสัณฐิตพงษ์th_TH
dc.contributor.authorPaweena Susantitaphongen_EN
dc.contributor.authorธนันดา ตระการวนิชth_TH
dc.contributor.authorTananda Takarnvanichen_EN
dc.contributor.authorมนต์ชัย ศิริบำรุงวงศ์th_TH
dc.contributor.authorMonchai Siribumrungwongen_EN
dc.contributor.authorอนันต์ เชื้อสุวรรณth_TH
dc.contributor.authorสุรัตน์ ทรงพานิชth_TH
dc.contributor.authorSurat Songpanichen_EN
dc.contributor.authorพิเชฐ หล่อวินิจนันท์th_TH
dc.contributor.authorPichet Laowanichnanen_EN
dc.contributor.authorวีรวัฒน์ พานทองดีth_TH
dc.contributor.authorWeerawat Pantongdeeen_EN
dc.contributor.authorสัจจะ ตติยานุพันธ์วงศ์th_TH
dc.contributor.authorSajja Tatinupanwongen_EN
dc.contributor.authorพิสิฐ อินทรวงษ์โชติth_TH
dc.contributor.authorPisit Intarawongchoten_EN
dc.contributor.authorปกรณ์ ตุงคะเสรีรักษth_TH
dc.contributor.authorPakorn Tungkasereeraken_EN
dc.contributor.authorธีรพล สุขมากth_TH
dc.contributor.authorTeerapol Sukmaken_EN
dc.contributor.authorกัตติกา หาลือth_TH
dc.date.accessioned2018-03-23T08:55:39Z
dc.date.available2018-03-23T08:55:39Z
dc.date.issued2561-02
dc.identifier.otherhs2395
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4848
dc.description.abstractที่มาของการศึกษา อุบัติการณ์ของการเกิดภาวะไตเรื้อรังเพิ่มมากในประเทศไทยจากการเพิ่มมากขึ้นของผู้ป่วย non-communicable disease หรืออาจเกิดจากการเริ่มให้การรักษาผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะท้ายๆ ด้วยการบำบัดทดแทนไตไม่เหมาะสม คำถามว่าควรเริ่มการรักษาด้วยการบำบัดทดแทนไตเมื่อค่าการทำงานของไตอยู่ในระดับใดที่เหมาะสม ไม่ต่ำไปจนเกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรงและไม่สูงเกินไปจนเป็นการเริ่มบำบัดรักษาทดแทนไตเร็วเกินไป เป็นคำถามวิจัยที่ต้องการคำตอบ การเริ่มการรักษาบำบัดทดแทนไตอย่างไม่เหมาะสมหรือเร็วเกินไปยังทำให้เกิดภาระทางงบประมาณของประเทศ การศึกษานี้ทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของระดับการทำงานของไตเมื่อเริ่มรักษาบำบัดทดแทนไตกับอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยไตเสื่อมระยะสุดท้ายและเปรียบเทียบผลของวิธีการฟอกเลือดทางเส้นเลือดและทางหน้าท้องในผู้ป่วยไตเสื่อมระยะสุดท้ายของประเทศไทย โดยเริ่มจากศึกษาหาวิธีการวัดการทำงานของไตในระยะสุดท้ายก่อนเริ่มการบำบัดทดแทนไตให้แม่นยำที่สุด และนำผลการศึกษานั้นมาใช้ติดตามผู้ป่วยที่เริ่มรักษาบำบัดทดแทนไตทั้งการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมและการฟอกไตทางช่องท้อง เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระดับการทำงานของไตก่อนเริ่มการรักษาบำบัดทดแทนไตและผลลัพธ์ทางคลินิกตลอดจนเปรียบเทียบวิธีการบำบัดทดแทนไตทั้งสองวิธี วิธีการวิจัย ศึกษาหาวิธีการประเมินการทำงานของไตในผู้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่เข้าข่ายรับการพิจารณาว่าต้องรับการรักษาบำบัดทดแทนไตหรือไม่โดย Cross sectional study เมื่อได้ผลศึกษาแล้วจึงดำเนินการศึกษาผลของระดับการทำงานของไตก่อนเริ่มการฟอกไตในผู้ป่วย ESRD และอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วย ตลอดจนประสิทธิภาพระหว่างการรักษาด้วยวิธีการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมและการฟอกไตทางช่องท้องโดย "multicenter, prospective observation study" ติดตามผู้ป่วยไปข้างหน้าและวิเคราะห์ผลลัพธ์ทางคลินิกและปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับผลการรักษา สรุป การประเมินการทำงานของไตเพื่อพิจารณาว่าผู้ป่วยจำเป็นต้องรับการรักษาบำบัดทดแทนไตด้วย CKD-EPI Equation ไม่แม่นยำและให้ค่าการทำงานของไตผู้ป่วย CKD ระยะท้ายๆ ต่ำกว่าความเป็นจริงมาก ควรใช้ Thai GRF Equation เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยเข้ารับการบำบัดทดแทนไตโดยไม่จำเป็นและเป็นการสูญเสียงบประมาณของรัฐโดยไม่มีประสิทธิภาพ ผู้ป่วย CKD ที่ได้รับการเริ่มด้วยการรักษาบำบัดทดแทนไตเป็นผู้ป่วยที่มีอุบัติการณ์ของโรคหรือภาวะร่วมสูง และมีความคลาดเคลื่อนของผลการประเมินการทำงานของไตโดย CKD-EFI Equation สูงเพื่อพิจารณาว่าต้องเริ่มการรักษาบำบัดทดแทนไตหรือไม่ การศึกษาเพื่อติดตามผลลัพธ์การรักษาทดแทนไตควรใช้ Thai GFR Equation เป็นเครื่องมือในการพิจารณาผู้ป่วยควรเริ่มการรักษาบำบัดทดแทนไตหรือไม่และเป็นเครื่องมือในการศึกษาปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อผู้ป่วยที่เริ่มการรักษาบำบัดทดแทนไตth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectChronic Kidney Disease.en_EN
dc.subjectไตวายเรื้อรัง--การรักษาth_TH
dc.subjectChronic Renal Failureen_EN
dc.subjectโรคไตเรื้อรังth_TH
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleการศึกษาผลของวิธีการฟอกไต,ระดับการทำงานของไตก่อนการฟอกไต ต่ออัตราการเสียชีวิตและภาระต่อเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข โดยการติดตามผู้ป่วยไปข้างหน้าth_TH
dc.title.alternativeImpact of dialysis modality and renal function at dialysis initiation towards mortality and economical burden study : A prospective observational studyen_EN
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeBackground: The prevalence and incidence of CKD have been increasing in Thailand caused by the pandemic of non-communicable disease or the inappropriateness of renal replacement therapy initiation. The optimum or critical renal function for renal replacement therapy initiation has been an important issue. Late renal replacement therapy may cause morbidity and mortality while too early renal replacement therapy cause patients’ morbidity and unnecessary health economic burden. This study aimed to investigate the association of renal function at renal replacement therapy initiation towards clinical outcome and investigate the comparison of mode of renal replacement therapy towards patients’ outcome. Methods: The evaluation of pre-renal replacement therapy renal function was investigated by cross sectional study. The results of most accurate pre-renal replacement therapy renal function assessment was used to enroll patients in multicenter, prospective observational study for association of renal function, mode of renal replacement therapy and clinical outcome Results. 113 cases of CKD stage V by CKD-EPI equation who expected for renal replacement therapy were enrolled for the cross sectional study. The average age was 59.2 ± 17.8 years and average serum creatinine was 6.59 ± 3.00 mg/dL. By reference 99Tc-DTPA plasma isotope renal clearance GFR study, the average renal function was 16.6 ± 5.5 mL/min per 1.73 m2. CKD-EPI Equation for GFR severely underestimated pre-renal replacement therapy renal function. Cystatin C based GFR showed better performance and Thai GFR Equation showed best estimation of late CKD patients who may need renal replacement therapy. 386 late CKD patients who enrolled for renal replacement therapy were included in multicenter, prospective observational study. The average age of patients was 59.8 ± 16.1 years and average serum creatinine was 10.81 ± 6.73 mg/dL. The prevalence of co-morbidities was high and more than 85 % of patients reimbursed the renal replacement therapy cost from the government reimbursement plan. The renal function when the renal replacement therapy initiation by CKD-EPI was inaccurate and range from CKD stage IV to early stage V and late V. The findings cause problems to analyze for the association of renal function, mode of dialysis and clinical outcome. Thus more cases are needed to be enrolled and more follow up are needed. Conclusion: Renal replacement therapy initiation by CKD-EPI was inaccurate and underestimated renal function. Renal replacement therapy initiation cases enrollment by CKD-EPI was inappropriate and cause unnecessary renal replacement therapy reimbursement. Thai GFR equation should be used for renal replacement therapy initiation. By Thai GFR equation, the investigation for the association of renal function and mode of dialysis towards clinical outcome can be feasible.en_EN
dc.identifier.callnoWJ340 ก282ก 2561
dc.identifier.contactno58-005
.custom.citationเกื้อเกียรติ ประดิษฐ์พรศิลป์, Kearkiat Praditpornsilpa, ปวีณา สุสัณฐิตพงษ์, Paweena Susantitaphong, ธนันดา ตระการวนิช, Tananda Takarnvanich, มนต์ชัย ศิริบำรุงวงศ์, Monchai Siribumrungwong, อนันต์ เชื้อสุวรรณ, สุรัตน์ ทรงพานิช, Surat Songpanich, พิเชฐ หล่อวินิจนันท์, Pichet Laowanichnan, วีรวัฒน์ พานทองดี, Weerawat Pantongdee, สัจจะ ตติยานุพันธ์วงศ์, Sajja Tatinupanwong, พิสิฐ อินทรวงษ์โชติ, Pisit Intarawongchot, ปกรณ์ ตุงคะเสรีรักษ, Pakorn Tungkasereerak, ธีรพล สุขมาก, Teerapol Sukmak and กัตติกา หาลือ. "การศึกษาผลของวิธีการฟอกไต,ระดับการทำงานของไตก่อนการฟอกไต ต่ออัตราการเสียชีวิตและภาระต่อเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข โดยการติดตามผู้ป่วยไปข้างหน้า." 2561. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4848">http://hdl.handle.net/11228/4848</a>.
.custom.total_download284
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month1
.custom.downloaded_this_year14
.custom.downloaded_fiscal_year2

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs2395.pdf
ขนาด: 1.452Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย