dc.contributor.author | จินตนา งามวิทยาพงศ์-ยาไน | th_TH |
dc.contributor.author | Jintana Ngamvithayapong-Yanai | en_EN |
dc.contributor.author | ศุภเลิศ เนตรสุวรรณ | th_TH |
dc.contributor.author | Supalert Nedsuwan | en_EN |
dc.contributor.author | วรรัตน อิ่มสงวน | th_TH |
dc.contributor.author | Worrarat Imsanguan | en_EN |
dc.contributor.author | วณิชยา วันไชยธนวงศ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Vanichaya Wanchaithanawong | en_EN |
dc.contributor.author | อมรรัตน์ วิริยะประสพโชค | th_TH |
dc.contributor.author | Amornrat Wiriyaprasobchok | en_EN |
dc.date.accessioned | 2018-11-23T05:11:35Z | |
dc.date.available | 2018-11-23T05:11:35Z | |
dc.date.issued | 2561-08 | |
dc.identifier.other | hs2455 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/4960 | |
dc.description.abstract | วัณโรคเป็นโรคของความยากจนและมีการตีตราทางสังคมสูง (stigma) ประเทศไทยมีปัญหารุนแรงเกี่ยวกับวัณโรคร่วมกันทั้ง 3 ด้าน คือ มีจำนวนผู้ป่วยวัณโรค, ผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน (MDR-TB) และผู้ป่วยวัณโรคติดเชื้อเอชไอวี (TB/HIV) จำนวนมาก การค้นหาผู้สัมผัสวัณโรค (contact investigation - CI) ช่วยลดการป่วยและการเสียชีวิตได้แต่มีความครอบคลุมต่ำ ในปี พ.ศ.2559 ประเทศไทยยังไม่คู่มือการทำ CI คณะผู้วิจัยจึงดำเนินโครงการเพื่อพัฒนาเครื่องมือและหาหลักฐาน (evidences) สำหรับการพัฒนาคู่มือเพิ่มความครอบคลุมในการทำ CI และเพื่อป้องกันผลกระทบทางสังคมต่อผู้ป่วยวัณโรค (index cases) และผู้สัมผัส (contact cases) ศึกษาทั้งผู้สัมผัสในบ้าน (household contacts - HC) และผู้สัมผัสนอกบ้าน (other contacts - OC) สรุปผลการดำเนินโครงการ ระหว่างเดือนมกราคม 2560 – เดือนสิงหาคม 2561 ได้ดังนี้ 1) การพัฒนานวัตกรรมสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) เพื่องาน CI 2) การวิจัยเพื่อรวบรวมหลักฐาน (evidences) สำหรับพัฒนาคู่มือเพิ่มความครอบคลุมของ CI 2.1 การทบทวนคู่มือ CI ของต่างประเทศ 2.2 การสำรวจความรู้, การตีตราวัณโรค, และประสบการณ์การทำ CI ของแพทย์และพยาบาล 178 ราย 2.3 การวิจัยเชิงคุณภาพ เรื่องความคิดเห็นและประสบการณ์เกี่ยวกับการตีตราทางสังคมของวัณโรคและการค้นหาผู้สัมผัสวัณโรคในสถานชุมนุมชน 2.4 การศึกษาเรื่องการใช้บัตรเชิญและให้ค่าเดินทางแก่ผู้สัมผัสวัณโรคและผลการคัดกรองวัณโรคในผู้สัมผัสในบ้าน (household contact – HC) และผู้สัมผัสนอกบ้าน (other contacts – OC) 3) ข้อเสนอเชิงนโยบาย 3.1 ประเทศไทยควรดำเนินการค้นหาผู้สัมผัสวัณโรคอย่างจริงจัง ควรค้นหาผู้สัมผัสที่อยู่ในบ้านและนอกบ้าน โดยเฉพาะผู้สัมผัสหรือผู้ป่วยวัณโรคที่เป็นเด็กเล็กควรครอบคลุม 100% ทั้งประเทศ 3.2 ควรอบรมบุคลากรให้มีทักษะในการสัมภาษณ์และการสื่อสารเพื่อลดการตีตราวัณโรค.3.3 อาชีพครู, พี่เลี้ยงเด็ก, บุคลากรโรงพยาบาล ควรมีระบบการตรวจสุขภาพที่ใช้การถ่ายภาพรังสีทรวงอก (เอกซเรย์ปอด) ก่อนเริ่มทำงานและตรวจเป็นประจำทุกปี และควรมีแนวทางในการปฏิบัติเมื่อครู, นักเรียน หรือบุคลากรโรงพยาบาลป่วยเป็นวัณโรค 3.4 ควรเผยแพร่ความรู้เรื่องวัณโรคและข้อมูลเพื่อลดการตีตราวัณโรคทางอินเทอร์เน็ต | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | วัณโรค | th_TH |
dc.subject | Tuberculosis | th_TH |
dc.subject | วัณโรค--การวินิจฉัย | th_TH |
dc.subject | Tuberculosis--Diagnosis | en_EN |
dc.subject | วัณโรค--การป้องกันและควบคุม | th_TH |
dc.subject | Tuberculosis--Prevention and Control | en_EN |
dc.subject | ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) | th_TH |
dc.title | การพัฒนาคู่มือและเครื่องมือที่ช่วยเพิ่มความครอบคลุมในการค้นหาผู้สัมผัสวัณโรคและลดผลกระทบทางสังคมแก่ผู้ป่วยและผู้สัมผัสโรค | th_TH |
dc.title.alternative | Development of an operations manual and tools for enhancing the coverage of tuberculosis contact investigations and reducing their social burden and stigma | en_EN |
dc.type | Technical Report | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Tuberculosis (TB) is a disease of poverty and stigmatization. Thailand is one of the countries with high burdens of TB, TB/HIV and MDR-TB. Although contact investigation (CI) can reduce TB morbidity and mortality, the coverage is low and a CI operations manual was not yet available. Thus, this project aims to develop tools and collect research evidences for the development of a CI manual to increase implementation of CI by including household (HC) and other contacts (OC). The manual will also guide staff to perform non-stigmatized CI. We implemented the project between January 2017 and August 2018. The outcomes are summarized as follows: 1) Development of a geographic information system (GIS)-based computer program as a tool for CI coverage enhancement. 2) Research activities: the project implemented 4 sub-studies as follows: 2.1 A review of international CI manuals. 2.2 A survey of physicians and nurses’ TB knowledge, perceived stigma, and CI Experiences. 2.3 Knowledge, attitude and experiences related to contact investigation for tuberculosis among former tuberculosis patients and representatives from nurseries, schools, hospital and private business: A qualitative study. 2.4 The outcomes of using invitation card and providing transportation fee in CI. 3) Policy recommendations: 3.1 Contact investigation must be seriously implemented in Thailand, particularly children contacts aged under 5 years old must achieve 100% CI. The CI should cover household and non-household contacts. 3.2 Healthcare providers working for TB patients should pass training courses to obtain CI interview skills and effective communication skills for TB-stigma reduction. 3.3 In occupations like teachers/lecturers, caregivers, and hospital staff, the chest x-ray should be mandatory in health check-up system and performed before the employment and in annual health check-up. The practical guidelines should also be available in case TB occurs in teachers, students, and health staff. 3.4 Information about TB and messages to reduce TB stigma should be disseminated through the internet. | en_EN |
dc.identifier.callno | WC503.7 จ482ก 2561 | |
dc.identifier.contactno | 60-033 | |
.custom.citation | จินตนา งามวิทยาพงศ์-ยาไน, Jintana Ngamvithayapong-Yanai, ศุภเลิศ เนตรสุวรรณ, Supalert Nedsuwan, วรรัตน อิ่มสงวน, Worrarat Imsanguan, วณิชยา วันไชยธนวงศ์, Vanichaya Wanchaithanawong, อมรรัตน์ วิริยะประสพโชค and Amornrat Wiriyaprasobchok. "การพัฒนาคู่มือและเครื่องมือที่ช่วยเพิ่มความครอบคลุมในการค้นหาผู้สัมผัสวัณโรคและลดผลกระทบทางสังคมแก่ผู้ป่วยและผู้สัมผัสโรค." 2561. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4960">http://hdl.handle.net/11228/4960</a>. | |
.custom.total_download | 280 | |
.custom.downloaded_today | 1 | |
.custom.downloaded_this_month | 1 | |
.custom.downloaded_this_year | 32 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 5 | |