Show simple item record

Future Employment Modalities for doctors, dentists, pharmacists, and nurses in Public Sectors in Thailand in the next 15 years

dc.contributor.authorกฤษดา แสวงดีth_TH
dc.contributor.authorKrisada Sawaengdeeen_US
dc.contributor.authorนารีรัตน์ ผุดผ่องth_TH
dc.contributor.authorNareerut Pudpongen_US
dc.contributor.authorระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์th_TH
dc.contributor.authorRepeepong Suphanchaimaten_US
dc.contributor.authorกัญจนา ติษยาธิคมth_TH
dc.contributor.authorKanjana Tisayaticomen_US
dc.contributor.authorนิธิวัชร์ แสงเรืองth_TH
dc.contributor.authorNithiwat Saengruangen_US
dc.contributor.authorพัชรี เพชรทองหยกth_TH
dc.contributor.authorPatcharee Phetthongyoken_US
dc.contributor.authorสตพร จุลชูth_TH
dc.contributor.authorSataporn Julchooen_US
dc.contributor.authorพิกุลแก้ว ศรีนามth_TH
dc.contributor.authorPigunkaew Sinamen_US
dc.contributor.authorกานต์วรินต์ ก่องกุลวัฒน์th_TH
dc.contributor.authorKarnwarin Gongkulawaten_US
dc.contributor.authorปิติยา สันทัดth_TH
dc.contributor.authorPitiya Santaden_US
dc.date.accessioned2018-12-18T08:18:21Z
dc.date.available2018-12-18T08:18:21Z
dc.date.issued2561-09
dc.identifier.isbn9786168019115
dc.identifier.otherhs2461
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/4988
dc.description.abstractปัจจุบันภาครัฐของไทยมีนโยบายลดการจ้างงานบุคลากรแบบข้าราชการ เพื่อลดภาระงบประมาณและปรับบทบาทการทำงานของภาครัฐให้มีประสิทธิภาพและความคล่องตัวมากขึ้น นโยบายดังกล่าวส่งผลไม่เพียงแต่บุคลากรสนับสนุนบริการสุขภาพ แต่รวมถึงวิชาชีพด้านสุขภาพ ทั้งแพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกรและพยาบาลด้วย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์สำคัญเพื่อศึกษาสถานการณ์และรูปแบบการจ้างงานบุคลากรสุขภาพในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยภาคตัดขวางแบบผสม การเก็บข้อมูลใช้ทั้งการทบทวนวรรณกรรม การสัมภาษณ์ผู้กำหนดนโยบายและผู้ใช้บุคลากรสุขภาพ การสัมภาษณ์และการสำรวจโดยใช้แบบสอบถามกับบุคลากรสุขภาพ เพื่อวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็งของการจ้างงาน ประเด็นความท้าทายและข้อเสนอแนะสำหรับกำหนดรูปแบบการจ้างงาน รวมถึงแนวโน้มการคงอยู่ในภาครัฐ และภาระงบประมาณเงินเดือนสำหรับการจ้างงาน แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกรและพยาบาล ในรูปแบบต่างๆ ในระยะ 15 ปี การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีแก่นสาระสำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอนุมาน สำหรับข้อมูลเชิงปริมาณ ผลการศึกษานี้พบว่า ในมุมมองของผู้กำหนดนโยบายและผู้ใช้บุคลากรเห็นว่าการจ้างแบบข้าราชการมีข้อจำกัดค่อนข้างมาก ทั้งเรื่องระเบียบข้อบังคับและเรื่องความยืดหยุ่นในการจัดสรรคนให้เหมาะกับงาน แต่การจ้างแบบข้าราชการก็ยังมีความจำเป็นในบางสายงาน เช่น งานที่เกี่ยวกับกับการใช้กฎหมายและงานด้านบังคับบัญชา อย่างไรก็ตาม ในมุมมองของบุคลากรเอง เห็นว่าการจ้างงานแบบข้าราชการเป็นปัจจัยสำคัญ ที่ทำให้คงอยู่ในภาครัฐ เพราะเป็นงานที่มีความมั่นคงและมีสวัสดิการที่ดี โดยเฉพาะเรื่องสิทธิการรักษาพยาบาลสำหรับตนเองและครอบครัว ถ้ามีการปรับเปลี่ยนวิธีการจ้างงาน ก็ไม่ควรมีหลายรูปแบบเกินไป ถ้ามีการจ้างงานแบบใหม่ที่ไม่ใช่ข้าราชการ ก็ควรมีการเพิ่มอัตราเงินเดือนและสิทธิประโยชน์ที่ไม่ด้อยกว่าการเป็นข้าราชการ ในภาพรวมทั้งระบบเรื่องออกแบบชุดสิทธิประโยชน์ ควรคำนึงถึงการลดความเหลื่อมล้ำระหว่างรูปแบบการจ้างงานและระหว่างวิชาชีพ กระทรวงสาธารณสุขควรปรับบทบาทของตนเอง ให้เน้นการเป็นผู้กำกับนโยบายมากกว่าเป็นผู้ให้บริการหรือเป็นผู้จ้างงานด้วยตนเอง ซึ่งย่อมส่งผลถึงให้หน่วยบริการมีอิสระในการออกแบบการจ้างงานที่เหมาะสมของตนเองและภาคส่วนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการออกแบบรูปแบบการจ้างงานสำหรับบุคลากรสุขภาพในท้องที่ของตนเองและควรเปิดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเลือกวิธีการจ้างงานหรือสิทธิประโยชน์ที่เหมาะสมกับวิถีชีวิตของตนตั้งแต่ต้นth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectกำลังคนด้านสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Manpoweren_US
dc.subjectบุคลากรสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHealth Personnelen_US
dc.subjectกำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce)th_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการศึกษารูปแบบการจ้างงาน แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร และพยาบาล ในภาครัฐของประเทศไทยในระยะ 15 ปีข้างหน้าth_TH
dc.title.alternativeFuture Employment Modalities for doctors, dentists, pharmacists, and nurses in Public Sectors in Thailand in the next 15 yearsen_US
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeAt present, the Royal Thai Government tends to instigate policies to downsize civil servant posts with a purpose to reduce its budget burden and increase system flexibility and efficiency. These policies affect not only supporting/administrative health staff, but also the health professionals themselves, including doctors, dentists, pharmacists and nurses. The objective of this study is to explore the current situation and types of employment for the Thai health personnel under the Office of Permanent Secretary of the Ministry of Public Health (MOPH). Cross-sectional mixed-method design was used. Data collection techniques comprised document reviews, indepth individual interviews with policy makers and health personnel users, and group interviews with, and self-administrative questionnaire survey on, health personnel. The interview questions focused on advantages, disadvantages, and recommendations for each employment type. The study also included analysis on health personnel retention and budget implication for paying salary to doctors, dentists, pharmacists and nurses in the next 15 years. The results revealed that according to policy makers’ and health personnel users’ perspectives, hiring health personnel as civil servants faced a number of constraints, including rigid bureaucracy and inflexibility in adjusting personnel’s positions to match their expertise. Yet civil servant posts should continue in certain functions, for instance, those dealing with legal issues and authoritative work. From the views of health personnel, civil servant employment is a crucial determinant in making them retain in the public sector because of work security and attractive benefits, especially treatment benefit for themselves and their family members. In the future, there should not be too many employment alternatives. If new civil servant posts are not available, the replaced employement choices should guarantee increased startup salary and additional benefits that are not inferior to the regular benefits for civil servants. Overall, the design of employment benefits should minimize discrepancy and inequity between employment types and between professionals. The MOPH should shift its role from being health care providers to being health policy regulators. Local health facilities should have more flexibility in designing employment benefits that suit their own staff while engaging local administrative authorities since the inception stage of the design. Besides, there should be mechanisms that provide opportunities for younger generations of health care providers to design and choose their employment benefits that fit their need before entering the labor force.en_US
dc.identifier.callnoW76 ก278ก 2561
dc.identifier.contactno61-037
.custom.citationกฤษดา แสวงดี, Krisada Sawaengdee, นารีรัตน์ ผุดผ่อง, Nareerut Pudpong, ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์, Repeepong Suphanchaimat, กัญจนา ติษยาธิคม, Kanjana Tisayaticom, นิธิวัชร์ แสงเรือง, Nithiwat Saengruang, พัชรี เพชรทองหยก, Patcharee Phetthongyok, สตพร จุลชู, Sataporn Julchoo, พิกุลแก้ว ศรีนาม, Pigunkaew Sinam, กานต์วรินต์ ก่องกุลวัฒน์, Karnwarin Gongkulawat, ปิติยา สันทัด and Pitiya Santad. "การศึกษารูปแบบการจ้างงาน แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร และพยาบาล ในภาครัฐของประเทศไทยในระยะ 15 ปีข้างหน้า." 2561. <a href="http://hdl.handle.net/11228/4988">http://hdl.handle.net/11228/4988</a>.
.custom.total_download343
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year13
.custom.downloaded_fiscal_year1

Fulltext
Icon
Name: hs2461.pdf
Size: 751.0Kb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record