Now showing items 101-120 of 126

    • สังเคราะห์สถานการณ์ระบบสุขภาพ 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; อรพรรณ ศรีสุขวัฒนา; ทิพิชา โปษยานนท์; วลัยพร พัชรนฤมล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-11)
      ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2552 เป็นธรรมนูญฯ ฉบับแรกของประเทศไทย ซึ่งเป็นหนึ่งในเครื่องมือสำคัญที่กำหนดในพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 ผ่านกระบวนการยกร่างที่มุ่งใช้องค์ความรู้ทางวิชาการทั้งจากการทบทวนสถา ...
    • สุนทรียะสนทนาวิกฤตความสัมพันธ์ระหว่างผู้ป่วยกับแพทย์ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ได้ร่วมกับ มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (มสช.) จัดเสวนาวิชาการ วิกฤตความสัมพันธ์ระหว่างผู้ป่วยกับแพทย์ เพื่อหาทางออกในเชิงสร้างสรรค์จากเหตุการณ์การฟ้องร้องแพทย์ที่เกิดขึ้นอยู่เนืองๆ ...
    • สู่นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ : การพัฒนาระบบการประเมินผลกระทางสุขภาพในประเทศไทย 

      เกษม วัฒนชัย; Kasem Wattanachai; วิพุธ พูลเจริญ; สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ; เดชรัต สุขกำเนิด; ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      "สุขภาพ" ของมนุษย์มีความสัมพันธ์เชิงพลวัตกับปัจจัยต่างๆ ทั้งปัจเจกบุคคล ครอบครัว ชุมชนและสภาพแวดล้อมอื่นๆ ทั้งทางสังคม กายภาพ ชีวภาพ รวมทั้งระบบบริการสุขภาพ ดังนั้น การดำเนินการต่างๆ ล้วนแต่ก่อผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม ...
    • หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : ความยั่งยืนทางการเงินการคลัง 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute; มูลนิธิเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; International Health Policy Program Foundation (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567)
      ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : ความยั่งยืนทางการเงินการคลัง เนื้อหาประกอบด้วย 1) สถานการณ์รายจ่ายสุขภาพภาครัฐและครัวเรือนปี พ.ศ. 2537-2564 2) ความท้าทายจากรายจ่ายสุขภาพของภาครัฐที่เพิ่มสูงขึ้ ...
    • หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าประเทศไทยอยู่ที่ตรงไหนของโลก 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute; มูลนิธิเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; International Health Policy Program Foundation (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567)
      ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าประเทศไทยอยู่ที่ตรงไหนของโลก เนื้อหาประกอบด้วย 1) ความครอบคลุมบริการด้านสุขภาพที่จำเป็น 2) การล้มละลายทางการเงินด้านสุขภาพ และ 3) ผลลัพธ์ของการบรรลุหลักประกันสุขภา ...
    • หลักสูตรและคู่มือพื้นฐานการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ด้านยาเสพติด 

      อัญมณี บูรณกานนท์; ทิพาภรณ์ โพธิ์ถวิล; สิริพรรณ ศรีมีชัย (สมาคมนักสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทยคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2553-03)
      ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาที่สำคัญของประเทศ ลักษณะของปัญหามีความเกี่ยวข้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ยิ่งปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นหลายอย่างที่มีผลกระทบต่อสถานการณ์ยาเสพติดของประเทศ โดยมีความรุนแรงที่ซับซ้อนมากยิ่งขึ้น ...
    • หลักเกณฑ์การวิจัยทางคลินิกที่ดี (จีซีพี) สำหรับการวิจัยทางสังคมและพฤติกรรม คำแนะนำภาคสนาม 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. สำนักพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์; Health Systems Research Institute. Institute for the Development of Human Research Protections (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      องค์การอนามัยโลกได้เผยแพร่หลักเกณฑ์การวิจัยทางคลินิกที่ดี (WHO GCP Guidelines) มาตั้งแต่ พ.ศ. 2538 ปีต่อมาที่ประชุมบรรสานสากล (International Conference on Harmonization: ICH) ได้ออกเกณฑ์การวิจัยทางคลินิกที่ดี (ICH GCP ...
    • หลักเกณฑ์การศึกษาวิจัยทางคลินิกที่ดีสำหรับการทดสอบเภสัชภัณฑ์ องค์การอนามัยโลก 

      วิชัย โชควิวัฒน (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2555)
    • อิฐก้อนแรก : บทเรียนอนามัยไปท้องถิ่น 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; โอปอล์ ประภาวดี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      การกระจายอำนาจทางด้านสุขภาพเป็นวิธีการหนึ่งของการปฏิรูประบบสุขภาพของหลายประเทศ ด้วยฐานความเชื่อที่ว่าอาจชักนำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระบบสุขภาพที่ดีขึ้นในด้านคุณภาพ ประสิทธิภาพและความเป็นธรรม ประเทศไทยเองก็มีการดำเนินการด้า ...
    • อุ่นใจ ใกล้บ้าน 

      ดวงกมล สจิรวัฒนากุล; ทนงศักดิ์ หมื่นหนู (มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ, 2553-01)
      ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าได้สนับสนุนระบบบริการปฐมภูมิ โดยเฉพาะการสนับสนุนให้คลินิกเอกชนเข้ามามีบทบาทในการจัดบริการปฐมภูมิแบบผสมผสานร่วมจัดบริการให้กับผู้มีสิทธิบัตรทอง ชื่อว่า " คลินิกชุมชนอบอุ่น" หนังสือเล่มนี้นำเสนอมิติต่างๆ ...
    • เครือข่ายวิจัยระบบยา 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; นุศราพร เกษสมบูรณ์; ณธร ชัยญาคุณาพฤกษ์; ชนัตถา พลอยเลื่อมแสง; ศิริตรี สุทธจิตต์; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; พรพิศ ศิลขวุธท์; สรชัย จำเนียรดำรงการ; ธนภร ทองศรี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-10)
      เอกสารฉบับนี้รวบรวมประเด็นสำคัญและข้อเสนอจากการประชุมเรื่อง “การวิจัยและพัฒนาระบบยา เพื่อการเข้าถึงยาถ้วนหน้าของประชาชนไทย” จัดโดยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ในวันที่ 26-27 สิงหาคม 2552 ณ. โรงแรมสยามซิตี้ กรุงเทพมหานคร ...
    • เส้นทางการสร้างอาชีพอิสระของคนพิการและการประกอบวิสาหกิจเพื่อสังคมคนพิการ 

      เดชรัต สุขกำเนิด; ศิรวัฒน์ แดงซอน; สุพรรณี ศฤงฆาร (มูลนิธินโยบายสุขภาวะ, 2555-01)
      การศึกษาครั้งนี้เป็นการทบทวนประสบการณ์ บทเรียน และการประเมินแนวทางการพัฒนาอาชีพอิสระของคนพิการและการสร้างวิสาหกิจเพื่อสังคม (หรือ Social Enterprises) สำหรับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนพิการ โดยใช้กรอบมุมมอง (Lens) ในการประเม ...
    • เอกสารคำแนะนำเกี่ยวกับโควิด-19 สำหรับภาคอุตสาหกรรม เจ้าหน้าที่สำนักงานอาหารและยาและภาคีอื่นๆ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. สำนักพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์; Health Systems Research Institute. Institute for the Development of Human Research Protections (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      เมื่อเกิดการระบาดของโควิด-19 ตั้งแต่วันสิ้นปี พ.ศ. 2562 และแพร่ระบาดอย่างกว้างขวางจนองค์การอนามัยโลกได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2563 ทำให้เกิดผลต่อการวิจัยในมนุษย์ โดยเฉพาะการ ...
    • แนวทางการประเมินผลตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล 

      เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; เพชรลดา บริหาร; Phetlada Borriharn; นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich; ไตรเทพ ฟองทอง; Traithep Fongthong; กิตติภัค เจ็งฮั้ว; Kittipak Jenghua; บรรณสรณ์ เตชะจำเริญสุข; Bunnasorn Techajumlernsuk; อิสรีย์ฐิกา ชัยสวัสดิ์ จันทร์ส่องสุข; Isareethika Jayasvasti Chantarasongsuk; วีรยุทธ์ เลิศนที; Verayuth Lertnattee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      แนวทางการประเมินผลตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล จัดทำขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยเรื่องการพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อติดตามและประเมินผลประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล ซึ่งเป็นโครงการที่ได้รับการสนับสนุนจากสถา ...
    • แผนงานสร้างเสริมสุขภาวะประชากรสาธารณสุขต่างด้าวในประเทศไทย ระยะที่ 1 

      ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; บงกช นภาอัมพร; Bongkot Napaumporn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2558-09-15)
      วัตถุประสงค์ (Objectives) (1) ทบทวนสถานการณ์ด้านปัญหาสุขภาวะของประชากรสาธารณสุขต่างด้าวในประเทศไทย อันนำไปสู่การวิเคราะห์ปัญหาที่บุคคลดังกล่าวประสบ (Situation Analysis) โดยผ่าน กรณีศึกษา (Case Studies) ในแต่ละพื้นที่ ...
    • แผนบูรณาการเพื่อพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร ปีงบประมาณ 2557 

      คณะกรรมการพัฒนาระบบข้อมูลเพื่อติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ระบบบริการสุขภาพ เขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร (สำนักงานเขตบริการสุขภาพ ส่วนกลาง กรุงเทพมหานคร สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข, 2557-01)
      กระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายพัฒนาระบบบริการสุขภาพให้ครอบคลุมทุกระดับ เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมและประชากรที่มีมากขึ้น รวมทั้งตอบสนองต่อความต้องการด้านสุขภาพของประเทศในรูปแบบเครือข่ายบริการสุขภาพที่ไร้รอยต่อ ...
    • แผนปฏิบัติการ พ.ศ. 2552-2554 เพื่อขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ การพัฒนาภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไท (2550-2554) 

      วิชัย โชควิวัฒน; สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ; อำพล จินดาวัฒนะ; สำลี ใจดี; พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; ประพจน์ เภตรากาศ; ดารณี อ่อนชมจันทร์; รัชนี จันทร์เกษ (สถาบันสุขภาพวิถีไทย, 2552-08)
      แม้เราจะเรียกตัวเองว่าชนชาติไทย ซึ่งมีนัยหมายถึงชนชาติที่รักอิสระเสรี และเราสามารถรักษาเอกราชของเรามาได้อย่างยาวนาน แม้จะเคย “เสียกรุง” สองครั้งในสมัยอยุธยา แต่เราก็สามารถกู้เอกราชคืนมาได้ในเวลาไม่นานนัก โดยครั้งแร ...
    • แผนปฏิบัติการเพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ 

      สุพัตรา ศรีวณิชชากร; Supattra Srivanichakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-03)
      ระบบบริการปฐมภูมิ (Primary Care) เป็นฐานสำคัญของระบบบริการสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ และมีความเท่าเทียม ช่วยลดช่องว่างการเข้าถึงบริการสุขภาพของประชาชน ประเทศไทยมีนโยบายและแผนการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิมาอย่างต่อเนื่องกว่า 10 ปี ...
    • แผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; คณะกรรมการประสานและบูรณาการงานดื้อยาต้านจุลชีพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      ยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial Resistance) โดยเฉพาะอย่างยิ่งยาต้านจุลชีพที่มีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการแพทย์และการสาธารณสุข เนื่องจากใช้เพื่อป้องกันและรักษาโรคที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ...
    • แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข พ.ศ.2548-2550 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548-03)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ได้จัดทำแผนยุทธศาสตร์งานวิจัยทุก 3 ปี โดยมีวัตถุประสงค์เป็นแผนแม่บทในการสร้างองค์ความรู้และความเข้มแข็งของภาคีทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในการขับเคลื่อนระบบสุขภาพ แผนยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับนี้ ...