• TH
    • EN
    • สมัครสมาชิก
    • เข้าสู่ระบบ
    • ลืมรหัสผ่าน
    • ช่วยเหลือ
    • ติดต่อเรา
  • สมัครสมาชิก
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลืมรหัสผ่าน
  • ช่วยเหลือ
  • ติดต่อเรา
  • TH 
    • TH
    • EN
Documents/Pocket Books เลือกตามชื่อเรื่อง 
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Documents/Pocket Books
  • Documents/Pocket Books เลือกตามชื่อเรื่อง
  •   หน้าแรก
  • สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) - Health Systems Research Institute (HSRI)
  • Documents/Pocket Books
  • Documents/Pocket Books เลือกตามชื่อเรื่อง
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Documents/Pocket Books เลือกตามชื่อเรื่อง

  • 0-9
  • A
  • B
  • C
  • D
  • E
  • F
  • G
  • H
  • I
  • J
  • K
  • L
  • M
  • N
  • O
  • P
  • Q
  • R
  • S
  • T
  • U
  • V
  • W
  • X
  • Y
  • Z
  • ก
  • ข
  • ฃ
  • ค
  • ฅ
  • ฆ
  • ง
  • จ
  • ฉ
  • ช
  • ซ
  • ฌ
  • ญ
  • ฎ
  • ฏ
  • ฐ
  • ฑ
  • ฒ
  • ณ
  • ด
  • ต
  • ถ
  • ท
  • ธ
  • น
  • บ
  • ป
  • ผ
  • ฝ
  • พ
  • ฟ
  • ภ
  • ม
  • ย
  • ร
  • ฤ
  • ล
  • ฦ
  • ว
  • ศ
  • ษ
  • ส
  • ห
  • ฬ
  • อ
  • ฮ

เรียงลำดับโดย:

ลำดับ:

ผลลัพธ์:

แสดงรายการ 512-531 จาก 627

  • ชื่อเรื่อง
  • วันเผยแพร่
  • วันรับรายการ
  • ต่ำไปสูง
  • สูงไปต่ำ
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
    • สู่นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ : การพัฒนาระบบการประเมินผลกระทางสุขภาพในประเทศไทย 

      เกษม วัฒนชัย; Kasem Wattanachai; วิพุธ พูลเจริญ; สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ; เดชรัต สุขกำเนิด; ปัตพงษ์ เกษสมบูรณ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      "สุขภาพ" ของมนุษย์มีความสัมพันธ์เชิงพลวัตกับปัจจัยต่างๆ ทั้งปัจเจกบุคคล ครอบครัว ชุมชนและสภาพแวดล้อมอื่นๆ ทั้งทางสังคม กายภาพ ชีวภาพ รวมทั้งระบบบริการสุขภาพ ดังนั้น การดำเนินการต่างๆ ล้วนแต่ก่อผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม ...
    • สู่วิสัยทัศน์การวิจัยระบบยาประเทศไทยปี 2560 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. แผนงานวิจัยพัฒนาระบบยา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-12)
      ยาเป็นหนึ่งในองค์ประกอบที่สำคัญของระบบบริการสุขภาพ และเป็นองค์ประกอบที่มีผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายและสุขภาพประชาชนอย่างมาก หากระบบยาขาดการออกแบบอย่างเหมาะสมและมีการจัดการที่ดีระบบยาของประเทศไทยเริ่มสะท้อนให้เห็นปัญหา ...
    • สู่ศตวรรษใหม่ของการส่งเสริมสุขภาพ 

      ลักขณา เติมศิริกุลชัย; สุชาดา ตั้งทางธรรม; Lukana Termsirikulchai (โครงการสำนักพิมพ์ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
    • หกล้ม เรื่องไม่คาดฝันแต่ป้องกันได้ 

      รัมภา บุญสินสุข; สายธิดา ลาภอนันตสิน; ชุธิพัธ จิววะสังข์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)
      เรื่องหกล้มเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้ในชีวิตประจำวัน มีคำกล่าวไว้ว่า เด็กๆยิ่งหกล้ม จะยิ่งโตไวขึ้น เพราะการล้มในเด็กมักเกิดจากการที่เด็กวิ่งกระโดดโลดเต้น หรือทำกิจกรรมสนุกสนานต่างๆที่เป็นการกระตุ้นการสร้างกระดูกให้แข็งแรง ...
    • หนึ่งทศวรรษงานวิจัยภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไท : การศึกษาสถานการณ์งานวิจัยการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน การแพทย์ทางเลือก และสมุนไพร ระหว่าง พ.ศ. 2543-2552 

      ธวัชชัย เทียนงาม; ทรงศักดิ์ สอนจ้อย; สมนึก สุชัยธนาวนิช; มนทิรา วิโรจน์อนันต์; ศุภลักษณ์ ฟักคำ; ศิรินันท์ ตรีมงคลทิพย์; ประคองศิริ บุญคง; บุญสม อัครธรรมกุล; พยอม ดีน้อย; พิมทรัพย์ พิมพิสุทธ์; กิตติยา คิดบา; กฤตภาส ไพเราะ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสถาบันสุขภาพวิถีไทย, 2554-07)
    • หนึ่งโรคร้ายหลายร้อยผลกระทบ จับตายเบาหวานฆาตรกรเงียบ 

      นิตยา จันทร์เรือง มหาผล; อรพินท์ มุกดาดิลก (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-09)
      หรรษาคดีเล่มนี้ เกิดขึ้นด้วยความมุ่งมั่นที่ว่าความจริงอันน่ากลัวของโรคเบาหวานโรคเรื้อรัง อันตรายที่กำลังขยายวงกว้างอย่างรวดเร็วโดยประชาชนส่วนใหญ่ไม่รู้ตัว จะถูกขุดคุ้ยมานำเสนอให้ผู้อ่านได้รับรู้ ซึ่งเป็นความจริงในมุมมองท ...
    • หมู่บ้านสารพิษ : ชุมชนกับการใช้สารเคมีในภาคการเกษตร 

      วิเชียร อันประเสริฐ; Wichean Anprasert (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548-07)
      หนังสือ หมู่บ้านสารพิษ : ชุมชนกับการใช้สารเคมีในภาคการเกษตร (Community and Agro-Chemical Use) เล่มนี้ ต้องการนำเสนอรายงานศึกษาเรื่องชุมชนกับการใช้สารเคมีในภาคเกษตร มีแนวทางการศึกษาโดยการสืบค้นข้อมูล การสัมภาษณ์เจาะลึกบุค ...
    • หยุดใช้ยาปฏิชีวนะเมื่ออุจจาระร่วง (ท้องเดิน ท้องเสีย) เฉียบพลัน 

      วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย, 2558-06)
      เอกสารแนะนำการใช้ยารักษาโรคอุจจาระร่วง (ท้องเดิน ท้องเสีย) เฉียบพลัน
    • หยุดใช้ยาปฏิชีวนะเมื่อเป็นหวัด 

      วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย, 2558-06)
      เอกสารแนะนำการใช้ยารักษาโรคหวัด
    • หยุดใช้ยาปฏิชีวนะเมื่อเป็นแผลสดจากอุบัติเหตุ 

      วิษณุ ธรรมลิขิตกุล; Visanu Thamlikitkul (โครงการควบคุมและป้องกันการดื้อยาต้านจุลชีพในประเทศไทย, 2558-06)
      เอกสารแนะนำการใช้ยารักษาแผลสดจากอุบัติเหตุ
    • หลักการชดเชยของศาลในคดีสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 

      อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา (สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, 2552-05-12)
    • หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : ความยั่งยืนทางการเงินการคลัง 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute; มูลนิธิเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; International Health Policy Program Foundation (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567)
      ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : ความยั่งยืนทางการเงินการคลัง เนื้อหาประกอบด้วย 1) สถานการณ์รายจ่ายสุขภาพภาครัฐและครัวเรือนปี พ.ศ. 2537-2564 2) ความท้าทายจากรายจ่ายสุขภาพของภาครัฐที่เพิ่มสูงขึ้ ...
    • หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าประเทศไทยอยู่ที่ตรงไหนของโลก 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute; มูลนิธิเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; International Health Policy Program Foundation (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567)
      ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าประเทศไทยอยู่ที่ตรงไหนของโลก เนื้อหาประกอบด้วย 1) ความครอบคลุมบริการด้านสุขภาพที่จำเป็น 2) การล้มละลายทางการเงินด้านสุขภาพ และ 3) ผลลัพธ์ของการบรรลุหลักประกันสุขภา ...
    • หลักสูตรการฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์ในการวินิจฉัย รักษา และดูแลเด็กที่มีอาการสมาธิสั้น ปีที่ 1 

      สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; ภิญโญ อิสรพงศ์; Pinyo Itsarapong; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; วรรณกมล สอนสิงห์; Wannakamol Sonsingh; นุจรี คำด้วง; Nootjaree Kamduang; สุรีรักษ์ พิลา; Sureerak Pila; สกนธ์ สุภากุล; Sakon Supakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      กรมสุขภาพจิต โดยสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ ได้จัดทำหลักสูตรการฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์ในการวินิจฉัย รักษา และดูแลเด็กที่มีอาการสมาธิสั้น เพื่อให้บุคลากรทางการแพทย์ที่รับผิดชอบงานสุขภาพจิตมีความรู้ ทักษะ และสามารถดูแล ...
    • หลักสูตรการพยาบาลเฉพาะทาง สาขาการพยาบาลผู้ใช้ยาและสารเสพติด 

      กระทรวงสาธารณสุข. สถาบันธัญญารักษ์ กรมการแพทย์; มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. คณะพยาบาลศาสตร์ (สถาบันธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2550)
    • หลักสูตรฝึกอบรมสำหรับครูโรงเรียนแกนนำร่วมประถมศึกษาในการดูแลปรับพฤติกรรม และส่งเสริมการเรียนรู้ในเด็กที่มีอาการสมาธิสั้น ปีที่ 1 

      สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; ภิญโญ อิสรพงศ์; Pinyo Itsarapong; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; วรรณกมล สอนสิงห์; Wannakamol Sonsingh; นุจรี คำด้วง; Nootjaree Kamduang; สุรีรักษ์ พิลา; Sureerak Pila; พัชนี พัฒนกิจโกศล; Patchanee Pattanakitkosol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      กรมสุขภาพจิต โดยสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ ได้จัดทำหลักสูตรฝึกอบรมสำหรับครูโรงเรียนแกนนำเรียนร่วมประถมศึกษาในการดูแล ปรับพฤติกรรม และส่งเสริมการเรียนรู้ในเด็กที่มีอาการสมาธิสั้นเพื่อให้ครูโรงเรียนแกนนำเรียนร่วมใช้สำหร ...
    • หลักสูตรและคู่มือพื้นฐานการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ด้านยาเสพติด 

      อัญมณี บูรณกานนท์; ทิพาภรณ์ โพธิ์ถวิล; สิริพรรณ ศรีมีชัย (สมาคมนักสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทยคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2553-03)
      ปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาที่สำคัญของประเทศ ลักษณะของปัญหามีความเกี่ยวข้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ยิ่งปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นหลายอย่างที่มีผลกระทบต่อสถานการณ์ยาเสพติดของประเทศ โดยมีความรุนแรงที่ซับซ้อนมากยิ่งขึ้น ...
    • หลักสูตรและประมวลรายวิชา การสื่อสารเพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการค้นหาผู้สัมผัสวัณโรค 

      จินตนา งามวิทยาพงศ์-ยาไน; Jintana Ngamvithayapong-Yanai; ผลิน กมลวัทน์; Phalin Kamolwat; พาหุรัตน์ คงเมือง ทัยสุวรรณ์; Phahurat Kongmuang Thaisuwan; เพชรวรรณ พึ่งรัศมี; Petchawan Pungrassami; วรรัตน อิ่มสงวน; Worarat Imsanguan; สุรสิทธิ์ บุพชาติ; Surasit Bupachat; อะเคื้อ อุณหเลขกะ; Akeau Unahalekhaka (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-08)
      ประเทศไทยเป็นหนึ่งใน 14 ประเทศของโลกที่มีปัญหาเกี่ยวกับวัณโรค (Tuberculosis) ร่วมกันทั้งสามด้าน คือ มีจำนวนผู้ป่วยวัณโรค ผู้ป่วยวัณโรคติดเชื้อเอชไอวี (TB/HIV) และผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา (MDR-TB) สูง ซึ่งในแต่ละปีมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ...
    • หลักเกณฑ์การวิจัยทางคลินิกที่ดี (จีซีพี) สำหรับการวิจัยทางสังคมและพฤติกรรม คำแนะนำภาคสนาม 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. สำนักพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์; Health Systems Research Institute. Institute for the Development of Human Research Protections (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      องค์การอนามัยโลกได้เผยแพร่หลักเกณฑ์การวิจัยทางคลินิกที่ดี (WHO GCP Guidelines) มาตั้งแต่ พ.ศ. 2538 ปีต่อมาที่ประชุมบรรสานสากล (International Conference on Harmonization: ICH) ได้ออกเกณฑ์การวิจัยทางคลินิกที่ดี (ICH GCP ...
    • หลักเกณฑ์การศึกษาวิจัยทางคลินิกที่ดีสำหรับการทดสอบเภสัชภัณฑ์ องค์การอนามัยโลก 

      วิชัย โชควิวัฒน (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2555)

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV
       

       

      เลือกตามประเภท (Browse)

      ทั้งหมดในคลังข้อมูลDashboardหน่วยงานและประเภทผลงานปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)ประเภททรัพยากรนี้ปีพิมพ์ผู้แต่งชื่อเรื่องคำสำคัญ (หัวเรื่อง)หมวดหมู่การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) [621]กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) [100]ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ (Health Information Systems) [286]ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) [126]ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing) [160]ภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance) [1292]ปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ (Social Determinants of Health: SDH) [234]วิจัยระบบสุขภาพ (Health System Research) [28]ระบบวิจัยสุขภาพ (Health Research System) [21]

      DSpace software copyright © 2002-2016  DuraSpace
      นโยบายความเป็นส่วนตัว | ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
      Theme by 
      Atmire NV