แสดงรายการ 161-180 จาก 625

    • SCOOP นานาสาระ (ผูก) พัน 

      สุวิทย์ วงศ์รุจิราวาณิชย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-07)
      แนวคิดของการพัฒนา BlueRollingDot คือการนำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับชีวิตรอบด้านของคนพิการที่ครอบคลุมในหลายมิติ ไม่ว่าจะเป็น การประกอบอาชีพ นวัตกรรมเทคโนโลยี องค์ความรู้ การออกแบบ ศิลปะ บันเทิง รูปแบบการดำเนินชีวิต ...
    • How to รู้ไว้ใช่ว่าใส่บ่าแบกหาม 

      ชัชรพล เพ็ญโฉม; สุวิทย์ วงศ์รุจิราวาณิชย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-07)
      แนวคิดของการพัฒนา BlueRollingDot คือการนำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับชีวิตรอบด้านของคนพิการที่ครอบคลุมในหลายมิติ ไม่ว่าจะเป็น การประกอบอาชีพ นวัตกรรมเทคโนโลยี องค์ความรู้ การออกแบบ ศิลปะ บันเทิง รูปแบบการดำเนินชีวิต ...
    • TECHNOLOGY เรียนรู้ IT สุดล้ำ 

      ปรารถนา อึ้งชูศักดิ์; ชัชรพล เพ็ญโฉม; สุวิทย์ วงศ์รุจิราวาณิชย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-07)
      แนวคิดของการพัฒนา BlueRollingDot คือการนำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับชีวิตรอบด้านของคนพิการที่ครอบคลุมในหลายมิติ ไม่ว่าจะเป็น การประกอบอาชีพ นวัตกรรมเทคโนโลยี องค์ความรู้ การออกแบบ ศิลปะ บันเทิง รูปแบบการดำเนินชีวิต ...
    • Inspiration พลิกมุมมองสร้างแรงบันดาลใจ 

      ปรารถนา อึ้งชูศักดิ์; ชัชรพล เพ็ญโฉม; สุวิทย์ วงศ์รุจิราวาณิชย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-07)
      แนวคิดของการพัฒนา BlueRollingDot คือการนำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับชีวิตรอบด้านของคนพิการที่ครอบคลุมในหลายมิติ ไม่ว่าจะเป็น การประกอบอาชีพ นวัตกรรมเทคโนโลยี องค์ความรู้ การออกแบบ ศิลปะ บันเทิง รูปแบบการดำเนินชีวิต ...
    • Design ก้าวข้ามอุปสรรคด้วยการออกแบบ 

      ปรารถนา อึ้งชูศักดิ์; สุวิทย์ วงศ์รุจิราวาณิชย์; วิสาข์ สอตระกูล; จักรสิน น้อยไร่ภูมิ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-07-01)
      แนวคิดของการพัฒนา BlueRollingDot คือการนำเสนอองค์ความรู้เกี่ยวกับชีวิตรอบด้านของคนพิการที่ครอบคลุมในหลายมิติ ไม่ว่าจะเป็น การประกอบอาชีพ นวัตกรรมเทคโนโลยี องค์ความรู้ การออกแบบ ศิลปะ บันเทิง รูปแบบการดำเนินชีวิต ...
    • ระบบการให้บริการผ่าตัดแบบวันเดียวกลับ : Same day surgery 

      ธิดา ยุคันตวรานันท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-10-11)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย (ครั้งที่ 2) : ยั่งยืนด้วยคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความเป็นธรรม และการประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2560 วันที่ 10 ...
    • Health Impact Assessment Training Manual : A Learning Tool for Healthy Communities and Society in Thailand , Southeast Asia, and Beyond 

      Decharut Sukkumnoed; Pattapong Kessomboon; Nusaraporn Kessomboon; Nuntana Sabrum (Research and Development Program on Healthy Public Policy and Health Impact Assessment , Health Systems Research Institute and Healthy Public Policy Foundation, 2550-04)
    • การติดตามประเมินผลชุดโครงการดูแลสุขภาพช่องปากคนพิการ 

      สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ; มูลนิธิสร้างสรรค์สังคมและสุขภาวะ (สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ (สสพ.), มูลนิธิสร้างสรรค์สังคมและสุขภาวะ (มสส.), 2559-06)
      การติดตามประเมินผลชุดโครงการดูแลสุขภาพช่องปากคนพิการครั้งนี้ ประกอบด้วย 1) โครงการพัฒนาสมรรถนะนักศึกษาทันตแพทย์และทีมทันตบุคลากรเพื่อดูแลสุขภาพช่องปากผู้พิการ ดำเนินการใน 3 จังหวัด (เชียงใหม่ ขอนแก่น และพิษณุโลก) ...
    • คู่มือบ้านใจดี : บ้านที่ออกแบบเพื่อทุกคน 

      สมาคมสถาปนิกในพระพระบรมราชูปถัมถ์ (สมาคมสถาปนิกในพระพระบรมราชูปถัมถ์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), 2557)
      สังคมให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้พิการ และผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสให้กลุ่มคนกลุ่มนี้ได้เติบโต และพัฒนาศักยภาพที่มีอยู่อย่างเต็มที่ สำหรับ "การออกแบบเพื่อทุกคนในสังคม (Universal Design)" จึงเป็นเครื่อง ...
    • WE ME มีฉัน มีเรา เพราะชีวิต เกี่ยวเนื่องและเชื่อมโยง 

      กนกเลขา สิงห์เสน่ห์; อีวอน แย็ป; ทาสึยูกิ ไอดะ; เอริโกะ ไอดะ; มนต์ศักดิ์ ชัยวีระเดช (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-06)
      มีเรื่องราวมากมายเกิดขึ้นในโลกใบนี้ เรื่องราวทั้งทุกข์และสุข ร้อยยิ้ม หยาดน้ำตา เสียงหัวเราะ การต่อสู้ ความไม่เข้าใจ อึดอัด โกรธ สนุก เกลียด กลัว ผิดหวัง พยายาม ไม่ยอมแพ้ ภูมิใจ สิ่งเหล่านี้ต่างเติมเต็มชีวิตให้มีรสชาติ ...
    • คู่มือการผลิตบทละครวิทยุความบันเทิงในโลกจินตนการ 

      ภัททิรา กลิ่นเลขา (มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ (สสพ.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), 2558)
      คนปกติทั่วไปสามารถมองเห็นความสวยงามต่างๆ ของโลกใบนี้ได้อย่างไม่มีขีดจำกัด ในขณะที่บนโลกใบนี้ยังมีกลุ่มคนกลุ่มหนึ่งที่ไม่มีโอกาสที่จะมองเห็นสิ่งต่างๆ รอบตัวไปชั่วชีวิตหรืออาจจะเป็นเพียงเพราะอุบัติเหตุช่วงหนึ่งของชีวิตที่ท ...
    • พรมแดนใหม่ของหมอฟันธรรมดา รายงานการถอดบทเรียนชุดโครงการดูแลสุขภาพช่องปากคนพิการ 

      อภิญญา ตันทวีวงศ์ (สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ (สสพ.) มูลนิธิสร้างสรรค์สังคมและสุขภาวะ (มสส.), 2559-04)
      การดูแลสุขภาพช่องปากคนพิการ มันเป็นเรื่องที่ถูกจัดให้ความสำคัญในลำดับรอง หรือลำดับท้ายๆ สำหรับการวางแผนการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ อาจเป็นเพราะว่าบุคลากรทั้งหลายมักจะมุ่งให้การดูแลฟื้นฟูเรื่องสำคัญใหญ่ๆ เช่น ...
    • รายงานฉบับประชาชน ปัญหา ความต้องการ การเข้าถึงบริการของเด็กพิการในชุมชน และสถานการณ์กำลังคนด้านการฟื้นฟูสุขภาพ 

      วัชรา ริ้วไพบูลย์; โชษิตา ภาวสุทธิไพศิฐ; ลือชัย ศรีเงินยวง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-06)
      หากกล่าวถึงการดูแลระบบสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับคนพิการ/ผู้สูงอายุ เราก็จะได้ยินในเรื่องของการเตรียมพร้อมไปสู่สังคมผู้สูงอายุเสียเป็นส่วนใหญ่ และมีการขับเคลื่อนในประเด็นนี้กันอย่างมาก แต่หากมองในอีกมุมหนึ่ง เด็กในวันนี้คือผู ...
    • DAD : Differently-Abled Design คู่มือออกแบบสำหรับความสามารถที่แตกต่าง 

      กษมา แย้มตรี; ยศวดี สนธิไชย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-07)
      DAD “Differently-Abled Design” คู่มือออกแบบสำหรับความสามารถที่แตกต่าง เป็นองค์ความรู้ที่มาจากการถอดบทเรียนการทำงานของกลุ่มสถาปนิกชุมชนที่เข้าไปคลุกคลีกับชุมชนและคนทำงานในพื้นที่ เรียนรู้และอาศัยประสบการณ์จากคนในพื้นที่ ...
    • ถอดบทเรียนกระบวนการเรียนรู้จากงานอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างเครือข่ายและความเข้มแข็งด้านกำลังคนในการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์สำหรับคนตาบอด 

      แพรว เอี่ยมน้อย; แก้วตา วิศวบำรุงชัย; จิรนันท์ ปุริมาตย์; ภัทรพงษ์ มีสุข; วิภาสิริ บุญชูช่วย; อัปสร จินดาพงษ์; เบญจางค์ สุขจำนงค์ (สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-05)
      วันนี้ กลับมาจากการทำ workshop ครูฝึกคนตาบอด เป็นงานสามวันครึ่ง ที่จัดกันแบบเต็มเม็ดเต็มหน่วย คือมีภาคกลางคืนทั้งสามวัน สำหรับงานนี้ โดยภาพรวมแล้วก็อาจถือเป็นงานที่ดี น่าถอดบทเรียนอีกงาน แม้หากจะเปรียบเทียบกับงานครั้งอื่นๆ ...
    • รายงานการติดตามประเมินผลเพื่อการพัฒนาและการนำสู่การปฏิบัติแผนปฏิบัติการพัฒนาระบบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ด้านการทำความคุ้นเคยกับสภาพแวดล้อมและการเคลื่อนไหว (Orientation and Mobility Training) สำหรับคนตาบอด ปี 2553-2558 

      วัชรา ริ้วไพบูลย์; แพรว เอี่ยมน้อย; แก้วตา วิศวบำรุงชัย; จิรนันท์ ปุริมาตย์; ภัทรพงษ์ มีสุข; วิภาสิริ บุญชูช่วย; อัปสร จินดาพงษ์; เบญจางค์ สุขจำนงค์; ภัทร กิตติมานนท์ (สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-05)
      เจตนารมณ์ดั้งเดิมซึ่งเป็นที่มาของแผนฯ ที่จะประเมินนี้ เริ่มต้นจากการทำงานร่วมกันของสถาบันทางวิชาการและภาคีเครือข่ายองค์กรคนตาบอด ที่ชี้ว่า บริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนตาบอดที่เรียกว่า Orientation and Mobility training ...
    • 10 ชีวิต 10 แรงบันดาลใจ 

      วิชัย โชควิวัฒน (สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ (สสพ.), 2559-03)
      หนังสือเล่มนี้เป็นเรื่องราวของบุคคล 10 คน ทั้งเทศและไทย เป็นชาวต่างประเทศ 7 คน คนไทย 3 คน ทุกคนล้วนเผชิญความยากลำบาก ด้วยข้อจำกัดของความพิการทางกายหรือจิตใจ แต่ทุกคนสามารถฟันฝ่าจน “รอดปากเหยี่ยวปากกา” และประสบความสำเร็จ ...
    • สถาปนิกอาทร ตามรอยพ่อ 

      วิติยา ปิดตังนาโพธิ์ (สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ (สสพ.), 2559-06)
      การปรับสภาพที่อยู่อาศัยของคนพิการที่อาศัยอยู่ในชนบทห่างไกล เพื่อการมีชีวิตที่พึ่งพาตนเองได้มากขึ้น และมีความสุขนั้น แม้จะเป็นสิทธิตามกฎหมายที่คนพิการพึงได้รับ และมีนโยบายรัฐจากหน่วยงานส่วนกลางแล้ว แต่บริการนี้ก็ไม่ได้มีโ ...
    • การปรับสภาพบ้านเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของคนพิการ 

      กตัญญู หอสูติสิมา (สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ (สสพ.), 2556-06)
      หนังสือเล่มนี้ จะขอกล่าวถึง การจัดการสภาพแวดล้อมทางกายภาพในสังคม ที่จะทำให้ทุกคนสามารถ ดำรงชีวิตที่พึ่งพาตัวเองได้มากขึ้น แม้จะมีข้อจำกัดทางกายอยู่บ้าง โดยเฉพาะในระดับครัวเรือนที่อยู่อาศัยที่เป็นฐาน พื้นที่ชีวิตหลักที่สำคัญ ...
    • Media no limit : สื่อสร้างได้ไม่จำกัดความแตกต่าง 

      นริศรา สายสงวนสัตย์; ณัฐภรณ์ เหลืองพิพัฒน์; ปณัสย์ พุ่มริ้ว; กรวิกา วีระพันธ์เทพา (สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ (สสพ.), 2556-09)
      ‘สื่อ’ คำสั้นๆ แต่แฝงไปด้วยพลังและอำนาจมากมาย เพราะนอกจากจะเป็นสะพานแห่งความเข้าใจของบุคคลแล้ว สื่อยังเป็นตัวกำหนดทิศทางของสังคมให้ไปทางไหนก็ได้อีกด้วย แต่ในโลกทุกวันนี้ กลับยังมีบุคคลอีกมากที่ไม่สามารถเข้าถึงสื่อได้ ...