แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การพัฒนาชุดตรวจคัดกรองโรคสมองเสื่อมอย่างรวดเร็วเพื่อนำไปสู่การพึ่งพาตนเองและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ปีที่ 2

dc.contributor.authorประพิมพรรณ วงศ์จิตรัตน์th_TH
dc.contributor.authorPrapimpun Wongchitratth_TH
dc.contributor.authorอมรา อภิลักษณ์th_TH
dc.contributor.authorAmara Apiluxth_TH
dc.contributor.authorธนาวุฒิ ตันติมงคลวัฒน์th_TH
dc.contributor.authorTanawut Tantimongcolwatth_TH
dc.contributor.authorกมลรัตน์ โพธิ์ปิ่นth_TH
dc.contributor.authorKamonrat Phopinth_TH
dc.contributor.authorวิลาสินี สุวรรณจ่างth_TH
dc.contributor.authorWilasinee Suwanjangth_TH
dc.contributor.authorสุมนา กลัดสมบูรณ์th_TH
dc.contributor.authorSumana Kladsomboonth_TH
dc.date.accessioned2019-01-17T03:24:00Z
dc.date.available2019-01-17T03:24:00Z
dc.date.issued2562-01
dc.identifier.otherhs2464
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5013
dc.description.abstractเนื่องจากประเทศไทยกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งผู้สูงอายุมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคสมองเสื่อมรวมถึงโรคอัลไซเมอร์ การตรวจวินิจฉัยที่รวดเร็วมีความสำคัญในการป้องกันและรักษาสุขภาพของประชาชน ดังนั้นงานวิจัยนี้มุ่งเน้นการพัฒนาการวิธีการตรวจวัดกรองสารบ่งชี้ทางชีวภาพสำคัญคือ amyloid protein ชนิด Aß1-42 ของโรคสมองเสื่อมอัลไซเมอร์ ให้มีความไว ง่าย รวดเร็วและราคาไม่แพง โดยได้ทำการทดสอบเลือกใช้ antibody สำหรับ assay และใช้ตัวติดตามสัญญาณชนิด gold nanoparticles (AuNPs) เนื่องจากสามารถเห็นสัญญาณด้วยตาเปล่าและมีความเสถียร ในขั้นตอนแรกได้ทำการพัฒนาวิธี dot-blot immunoassay และพบว่า sandwich immunoassay ให้สัญญาณดีกว่า direct assay โดยได้ทำการตรึง anti-Aß polyclonal antibody บน nitrocellulose membrane และสำหรับการทดสอบทำโดยการหยดตัวอย่างปริมาตร 2 µL และ incubate เป็นเวลา 10 นาที หลังจากนั้นทำการเติม anti-Aß monoclonal antibody conjugate-AuNPs ปริมาตร 2 µL แล้วทำการล้าง ผลการทดสอบจะสามารถเห็นได้ด้วยตาเปล่าทันทีและพบว่าค่าขีดจำกัดของการตรวจวัดอยู่ที่ 5 µg/mL จากนั้นได้ทำการเพิ่มสัญญาณการตรวจวัดโดยใช้ silver enhancer ซึ่งในระบบ silver ion จะถูกรีดิวซ์แล้วเกาะกับพื้นผิวของ AuNPs ทำให้ particle ใหญ่ขึ้นและเปลี่ยนจากสีแดงเป็นสีดำซึ่งให้ค่าขีดจำกัดการตรวจวัดอยู่ที่ 1 µg/mL นอกจากนี้ได้ทำการประยุกต์ตรวจวัดตัวอย่างซีรั่ม พบว่าสามารถตรวจวัดและให้ผลแตกต่างระหว่างตัวอย่างที่มี Aß กับตัวอย่างที่ไม่มีโมเลกุลดังกล่าวได้ อย่างไรก็ตามต้องมีการพัฒนาระบบการรายงานผลให้มีความไวมากขึ้น เพื่อที่จะสามารถให้ชุดตรวจมีค่าขีดความสามารถในการวัดได้ถึงระดับของโมเลกุล Aß1-42 ที่มีอยู่จริงใน plasmath_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectAlzheimer's Diseaseth_TH
dc.subjectอัลไซเมอร์th_TH
dc.subjectสมองเสื่อม--ในวัยชราth_TH
dc.subjectสมองเสื่อม--การป้องกันและควบคุมth_TH
dc.subjectผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies)th_TH
dc.titleการพัฒนาชุดตรวจคัดกรองโรคสมองเสื่อมอย่างรวดเร็วเพื่อนำไปสู่การพึ่งพาตนเองและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ปีที่ 2th_TH
dc.title.alternativeDevelopment of rapid screening tests for neurodegenerative diseases for self-reliance and sustainable development (2nd year)th_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeThailand has become an aging society. Old age people risk of developing dementia including Alzheimer's disease (AD). Therefore, early diagnosis is crucial in order to prevent the serious health problem. Herein, the rapid simple and low cost detection method have been developed for screening test of Aß1-42 which is essential biomarker of AD. Firstly, the antibodies used were investigated and selected to perform in the assay. The gold nanoparticles (AuNPs) was used as a labelling materials because the results can be seen by naked eye and provide the stability. The dot-blot with direct and sandwich immunoassay were developed for measurement the level of Aß1-42. However, the sandwich immunoassay provides higher sensitivity when compared with the direct assay which was then selected to use in further work. For the assay, the anti-rabbit Aß pAb was immobilized on nitrocellulose membrane. To test, the sample was dropped on the test zone and incubated for 10 min. After that, 2 µL of anti-rabbit Aß mAb conjugate- AuNPs was applied on the test zone and incubated for 10 min following by washing. The results can be visualized in few min. Under optimized conditions, the limit of detection was found to be 5 µg/mL. In order to enhance the signal, the silver enhancer was applied in the system after test. In the present of silver enhancement solution, the darker color in signal becomes more strengthened due to silver precipitation on the AuNPs which providing better sensitivity. The limit of detection was observed at 1 µg/mL. Moreover, the approached assay would be applied to detect of Aß1-42 antigen in real blood sample and the results showed the different between the sample with and with out Aß1-42. However, the further development to increase the sensitivity of detect tool still need more study to apply for the measurement of the plasma Aß in clinical sample.th_TH
dc.identifier.callnoWM220 ป332ก 2562
dc.identifier.contactno60-054
.custom.citationประพิมพรรณ วงศ์จิตรัตน์, Prapimpun Wongchitrat, อมรา อภิลักษณ์, Amara Apilux, ธนาวุฒิ ตันติมงคลวัฒน์, Tanawut Tantimongcolwat, กมลรัตน์ โพธิ์ปิ่น, Kamonrat Phopin, วิลาสินี สุวรรณจ่าง, Wilasinee Suwanjang, สุมนา กลัดสมบูรณ์ and Sumana Kladsomboon. "การพัฒนาชุดตรวจคัดกรองโรคสมองเสื่อมอย่างรวดเร็วเพื่อนำไปสู่การพึ่งพาตนเองและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ปีที่ 2." 2562. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5013">http://hdl.handle.net/11228/5013</a>.
.custom.total_download215
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year9
.custom.downloaded_fiscal_year3

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs2464.pdf
ขนาด: 890.8Kb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย