dc.contributor.author | สมบัติ แทนประเสริฐสุข | th_TH |
dc.contributor.author | Sombat Thanprasertsuk | en_EN |
dc.contributor.author | จุไร วงศ์สวัสดิ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Jurai Wongsawat | en_EN |
dc.contributor.author | วิศัลย์ มูลศาสตร์ | th_TH |
dc.contributor.author | Visal Moolasart | en_EN |
dc.contributor.author | ปฐมา สุทธา | th_TH |
dc.contributor.author | Patama Suttha | en_EN |
dc.contributor.author | นุชชรินทร์ ไวว่อง | th_TH |
dc.contributor.author | Nuchcharin Wiwong | en_EN |
dc.contributor.author | สมถวิล อัมพรอารีกุล | th_TH |
dc.contributor.author | Somtavil Ampornareeku | en_EN |
dc.contributor.author | พุทธิพร ลิมปนดุษฎี | th_TH |
dc.contributor.author | Putthiporn Limpanadusadee | en_EN |
dc.contributor.author | ณิชาภา ยนจอหอ | th_TH |
dc.contributor.author | Nichapa Yonchoho | en_EN |
dc.contributor.author | สุมนมาลย์ อุทยมกุล | th_TH |
dc.contributor.author | Sumonmal Utayamakul | en_EN |
dc.contributor.author | สมคิด ศรีโสภา | th_TH |
dc.contributor.author | Somkid Srisopha | en_EN |
dc.contributor.author | สุมาลี ชะนะมา | th_TH |
dc.contributor.author | Sumalee Chanama | en_EN |
dc.date.accessioned | 2019-01-28T04:07:58Z | |
dc.date.available | 2019-01-28T04:07:58Z | |
dc.date.issued | 2561-09 | |
dc.identifier.other | hs2466 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5015 | |
dc.description.abstract | กรมควบคุมโรคในฐานะเป็นหน่วยงานหลักที่กำกับดูแลระบบการป้องกันและควบคุมโรคของประเทศ จำเป็นต้องใช้ข้อมูลทางวิชาการโดยอ้างอิงหลักฐานเชิงประจักษ์เพื่อแก้ไขปัญหาจากโรคและภัยสุขภาพในประเทศไทย โดยเร่งทำการศึกษาวิจัยในประเด็นเร่งด่วน เช่น การติดเชื้อไวรัสซิกา ซึ่งเป็นโรคอุบัติใหม่ในขณะที่องค์ความรู้เกี่ยวกับตัวโรคและการป้องกันควบคุมมีอยู่อย่างจำกัด ร่วมกับการเร่งพัฒนาขีดความสามารถขององค์กรเพื่อรับมือกับสภาพปัญหาและความท้าทายใหม่ๆ ทางด้านสาธารณสุขและภัยสุขภาพ โดยการพัฒนาศักยภาพการวิจัยทั้งในแง่ปริมาณนักวิจัย คุณภาพการวิจัยและการใช้ประโยชน์จากเครือข่ายการวิจัย ควบคู่ไปกับการพัฒนาเครื่องมือสนับสนุนการวิจัย จึงได้ดำเนินโครงการที่มีความสำคัญและเร่งด่วนจำนวน 2 โครงการ ได้แก่ โครงการย่อยที่ 1 อุบัติการณ์การติดเชื้อไวรัสซิกาในผู้ป่วยวินิจฉัยไข้เดงกี่ และโครงการย่อยที่ 2 : โครงการพัฒนาศักยภาพการทำวิจัยการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพสำหรับประเทศไทย โดยมีเนื้อหาสรุปดังต่อไปนี้ โครงการย่อยที่ 1 : อุบัติการณ์การติดเชื้อไวรัสซิกาในผู้ป่วยรับไว้รักษาตัวในโรงพยาบาลจากการวินิจฉัยไข้เดงกี่ การติดเชื้อไวรัสซิกาเป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับโอกาสการเกิดภาวะศีรษะเล็กแต่กำเนิดในมารดาที่ติดเชื้อนี้ เป็นโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่ทั่วโลกให้ความสำคัญในช่วงทศวรรษนี้ เชื้อไวรัสซิกาเป็นเชื้อในกลุ่มเดียวกันไวรัสเดงกี่ที่ทำให้เกิดโรคไข้เลือดออก ประเทศไทยมีการติดเชื้อไวรัสเดงกี่เป็นการติดเชื้อประจำถิ่นมาอย่างช้านาน แต่อุบัติการณ์การติดเชื้อซิกายังไม่ชัดเจน การติดเชื้อไวรัสเดงกี่มีได้ทั้งไม่แสดงอาการ มีอาการไม่รุนแรง (ที่เราเรียกว่าไข้เดงกี่) จนถึงมีอาการมากรุนแรง ช็อค (หรือที่เราเรียกว่าไข้เลือดออก) ผู้ติดเชื้อซิกามีอาการโดยทั่วไปไม่รุนแรง และคล้ายคลึงกับอาการของไข้เดงกี่ ซึ่ง ถ้าไม่ได้รับการตรวจทางห้องปฏิบัติการ อาจวินิจฉัยเป็นไข้เดงกี่ได้ โครงการย่อยที่ 2 : โครงการพัฒนาศักยภาพการทำวิจัยการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพสำหรับประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มจำนวนและศักยภาพนักวิจัย โดยการฝึกอบรมและพัฒนาทักษะในการทำวิจัยร่วมกันระหว่างนักวิจัยที่มีประสบการณ์และนักวิจัยหน้าใหม่และเพื่อรวบรวม จัดทำและใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลเครือข่ายการวิจัยที่มีความเชี่ยวชาญครอบคลุมทั้งประเด็นโรคและภัยสุขภาพและเชี่ยวชาญเชิงระเบียบวิธีวิจัย | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | Zika Virus | th_TH |
dc.subject | ไวรัสซิกา | th_TH |
dc.subject | โรคติดต่อ--การป้องกันและควบคุม | th_TH |
dc.subject | ระบบบริการสุขภาพ | th_TH |
dc.subject | Health Services System | th_TH |
dc.subject | การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) | th_TH |
dc.subject | กำลังคนด้านสุขภาพ (Health Workforce) | th_TH |
dc.title | แผนงานเพื่อศึกษาอุบัติการณ์การติดเชื้อไวรัสซิกา และพัฒนาศักยภาพการทำวิจัยการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพสำหรับประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Zika incidence among hospitalized patients diagnosed with dengue fever and Strengthening capacity on research, knowledge management and standards for disease control in Thailand | th_TH |
dc.type | Technical Report | th_TH |
dc.identifier.callno | WC100 ส255ผ 2561 | |
dc.identifier.contactno | 59-077 | |
.custom.citation | สมบัติ แทนประเสริฐสุข, Sombat Thanprasertsuk, จุไร วงศ์สวัสดิ์, Jurai Wongsawat, วิศัลย์ มูลศาสตร์, Visal Moolasart, ปฐมา สุทธา, Patama Suttha, นุชชรินทร์ ไวว่อง, Nuchcharin Wiwong, สมถวิล อัมพรอารีกุล, Somtavil Ampornareeku, พุทธิพร ลิมปนดุษฎี, Putthiporn Limpanadusadee, ณิชาภา ยนจอหอ, Nichapa Yonchoho, สุมนมาลย์ อุทยมกุล, Sumonmal Utayamakul, สมคิด ศรีโสภา, Somkid Srisopha, สุมาลี ชะนะมา and Sumalee Chanama. "แผนงานเพื่อศึกษาอุบัติการณ์การติดเชื้อไวรัสซิกา และพัฒนาศักยภาพการทำวิจัยการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพสำหรับประเทศไทย." 2561. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5015">http://hdl.handle.net/11228/5015</a>. | |
.custom.total_download | 104 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 7 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 0 | |