Show simple item record

Immediate effects of foot massage and foot exercise on renal blood flow and heart rate variability in the elderly

dc.contributor.authorกู้เกียรติ ทุดปอth_TH
dc.contributor.authorธนารัตน์ ศรีผ่องงามth_TH
dc.contributor.authorThanarat Sripongngamth_TH
dc.contributor.authorจตุรัตน์ กันต์พิทยาth_TH
dc.contributor.authorJaturat Kanpittayath_TH
dc.contributor.authorวิทวัฒน์ ทะกองth_TH
dc.contributor.authorWittawat Takongth_TH
dc.contributor.authorKukiat Tudporth_TH
dc.date.accessioned2019-03-19T04:04:17Z
dc.date.available2019-03-19T04:04:17Z
dc.date.issued2562-02
dc.identifier.otherhs2475
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5027
dc.description.abstractในปัจจุบันพบว่าจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไตเรื้อรังเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ปัญหาหลักที่พบในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง คือ การลดลงของการไหลเวียนเลือดไปที่ไต ทำให้ไตได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอ ส่งผลให้เกิดการคั่งของของเสียในร่างกายเนื่องจากสมรรถนะการทำงานของไตในการขับของเสียออกจากร่างกายได้น้อยลง นำไปสู่การเสื่อมของไตที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในผู้สูงอายุก็พบว่ามีการไหลเวียนเลือดไปที่ไตลดลง ดังนั้น วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ คือ เพื่อเปรียบเทียบผลของการไหลเวียนเลือดของไตและความแปรปรวนของอัตราการเต้นของหัวใจก่อนการนอนพัก หลังการนอนพักและหลังการทดลองในผู้สูงอายุ อาสาสมัครเป็นผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดีจำนวน 41 คน ถูกแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือกลุ่มที่ได้รับการนวดฝ่าเท้า (14 คน) กลุ่มที่ได้รับการออกกำลังกายเท้า (14 คน) และกลุ่มควบคุม (13 คน) อาสาสมัครทุกคนนอนพักเป็นเวลา 15 นาที หลังจากนั้นได้รับการนวดฝ่าเท้า หรือออกกำลังกายเท้า หรือนอนพักเป็นเวลา 15 นาที ก่อนการนอนพัก หลังการนอนพัก และหลังการทดลอง อาสาสมัครได้รับการวัดค่าการไหลเวียนเลือดของไตและความแปรปรวนของอัตราการเต้นของหัวใจ จำนวน 3 ครั้ง และได้รับการตรวจปัสสาวะ 24 ชั่วโมง ก่อนและหลังการทดลอง ผลการศึกษาพบว่าค่าการไหลเวียนเลือดของไตและค่าการตรวจปัสสาวะ 24 ชั่วโมง ไม่แตกต่างจากก่อนการทดลองและไม่แตกต่างระหว่างกลุ่ม ในกลุ่มที่ได้รับการนวดฝ่าเท้าพบว่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของจังหวะการเต้นของหัวใจในช่วงปกติต่อเนื่อง (SDNN) ค่ารากที่สองของค่าความแตกต่างเฉลี่ยกำลังสองของจังหวะการเต้นของหัวใจในช่วงปกติต่อเนื่อง (RMSSD) และค่าย่านความถี่ต่ำ (LF) เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) กลุ่มที่ได้รับการออกกำลังกายเท้าพบว่าค่า SDNN และค่า RMSSD เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) และในกลุ่มควบคุมพบว่ามีเพียงค่า RMSSD ที่เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05) อย่างไรก็ตามพบว่าไม่มีความแตกต่างเมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม สรุปผลการศึกษาว่าการนวดฝ่าเท้า การออกกำลังกายเท้า และการนอนพัก สามารถเพิ่มความแปรปรวนของอัตราการเต้นของหัวใจโดยเพิ่มการทำงานของระบบประสาทพาราซิมพาเธติก แต่ไม่มีผลต่อการไหลเวียนเลือดของไตth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectโรคไตth_TH
dc.subjectโรคไตเรื้อรังth_TH
dc.subjectKidney Diseaseth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุth_TH
dc.subjectElderlyth_TH
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleผลทันทีของการนวดฝ่าเท้าและการออกกำลังกายเท้าที่มีต่อการไหลเวียนเลือดของไตและความแปรปรวนของอัตราการเต้นของหัวใจในผู้สูงอายุth_TH
dc.title.alternativeImmediate effects of foot massage and foot exercise on renal blood flow and heart rate variability in the elderlyth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeCurrently, the number of patients with chronic kidney disease is increasing. The main problem in chronic kidney disease patients is the reduction of blood flow to the kidneys, causes the insufficient blood supply to the kidneys. As a result, the accumulation of waste in the body due to the renal function excreted less waste from the body. It leads to a gradual decline in kidney function. In the elderly, it is found that blood flow to the kidneys decreased. The purpose of this study was to compare the effects of renal blood flow and heart rate variability before bed rest, after bed rest, and after the trial in the elderly. The 41 healthy elderly volunteers were divided into three groups: foot massage group (14 persons), foot exercise group (14 persons), and control group (13 persons). All of them were received bed rest for 15 minutes, then got a foot massage or foot exercise or bed rest for 15 minutes. Volunteers were measured for renal blood flow and heart rate variability for 3 times and 24-hours urine analysis was measured before and after the trial. The results found that renal blood flow and 24-hours urine analysis were not significantly different from the pre-treatment and no difference between groups. In massage group found that the standard deviation of the normal-to-normal intervals (SDNN), the square root of the mean squared differences of successive normal R-R intervals (RMSSD), and low frequency (LF) were significantly increased (p<.05). In foot exercise group found that SDNN and RMSSD were significantly increased (p<.05). And the control group found that only RMSSD was significantly increased (p<.05). However, there was no difference between groups comparison. Conclusion, the foot massage, the foot exercises, and bed rest could increase the heart rate variability by increasing the activity of the parasympathetic nervous system. But it does not affect the renal blood flow.th_TH
dc.identifier.callnoWJ340 ก741ผ 2562
dc.identifier.contactno60-059
.custom.citationกู้เกียรติ ทุดปอ, ธนารัตน์ ศรีผ่องงาม, Thanarat Sripongngam, จตุรัตน์ กันต์พิทยา, Jaturat Kanpittaya, วิทวัฒน์ ทะกอง, Wittawat Takong and Kukiat Tudpor. "ผลทันทีของการนวดฝ่าเท้าและการออกกำลังกายเท้าที่มีต่อการไหลเวียนเลือดของไตและความแปรปรวนของอัตราการเต้นของหัวใจในผู้สูงอายุ." 2562. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5027">http://hdl.handle.net/11228/5027</a>.
.custom.total_download103
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year2
.custom.downloaded_fiscal_year2

Fulltext
Icon
Name: hs2475.pdf
Size: 1.986Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record