dc.contributor.author | ธัญญลักษณ์ เธียรธัญญกิจ | th_TH |
dc.contributor.author | Tanyaluck Thientunyakit | en_US |
dc.contributor.author | วีรศักดิ์ เมืองไพศาล | th_TH |
dc.contributor.author | Weerasak Muangpaisan | en_US |
dc.contributor.author | อรสา ชวาลภาฤทธิ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Orasa Chawalparit | en_US |
dc.contributor.author | รุจพร ชนะชัย | th_TH |
dc.contributor.author | Rujaporn Chanachai | en_US |
dc.contributor.author | จักรมีเดช เศรษฐนันท์ | th_TH |
dc.contributor.author | Chakmeedaj Sethanandha | en_US |
dc.contributor.author | ยุทธพล วิเชียรอินทร์ | th_TH |
dc.contributor.author | Yudthaphon Vichianin | en_US |
dc.contributor.author | กันตรัตน์ อรุณรุ่งวิเชียร | th_TH |
dc.contributor.author | Kuntarat Arunrungvichian | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-03-20T03:58:05Z | |
dc.date.available | 2019-03-20T03:58:05Z | |
dc.date.issued | 2561-11 | |
dc.identifier.other | hs2476 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5028 | |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประโยชน์ของการตรวจการสะสมของ Aβ ในสมองโดยอาศัยการตรวจเพทสแกนด้วยสารเภสัชรังสีในประชากรตัวอย่าง 3 กลุ่ม ได้แก่ ผู้ป่วย Alzheimer’s disease, ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติเล็กน้อยของการรู้คิดสมอง และผู้สูงอายุปกติ รวมทั้งศึกษาความสอดคล้องของปริมาณการสะสม Aβ ในสมองจากผลการตรวจเพทสแกนด้วย [F-18]Florbetapir กับระดับความผิดปกติของความสามารถสมองจากผลการประเมินทางจิตประสาท รวมทั้งผลตรวจภาพสมองด้วย MRI และเพทสแกนด้วยสารเภสัชรังสี [F-18]FDG และศึกษาความสัมพันธ์ของผลการตรวจเพทสแกนด้วย [F-18]Florbetapir กับการเปลี่ยนแปลงระดับความสามารถสมอง ตลอดจนผลการเปลี่ยนแปลงจากการตรวจภาพสมอง ด้วย MRI และเพทสแกนด้วยสารเภสัชรังสี [F-18]FDG สรุปผลการศึกษาเบื้องต้น พบว่าการตรวจภาพถ่ายรังสีสมองทุกชนิดมีความสัมพันธ์กับผลการวินิจฉัยทางคลินิกและผลการทดสอบทางจิตประสาทเป็นอย่างมาก โดย [F-18]FDG มีความสัมพันธ์ในระดับสูงสุดมากกว่าการตรวจอะมัยลอยด์เพทสแกนด้วย [F-18]Florbetapir และความผิดปกติทางกายวิภาคจาก MRI ตามลําดับ นอกจากนี้ ยังพบว่าผลการตรวจอะมัยลอยด์เพทสแกน การตรวจ MRI และ [F-18]FDG มีความสัมพันธ์ในระดับสูงมาก อย่างไรก็ตาม การศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างผลการตรวจภาพถ่ายรังสีสมองแต่ละชนิดและการเปลี่ยนแปลงอาการทางคลินิกตลอดจน การเปลี่ยนแปลงระดับความสามารถสมอง ยังต้องรอข้อมูลวิจัยในระยะการติดตามผลต่อไป | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | สมองเสื่อม | th_TH |
dc.subject | อัลไซเมอร์ | th_TH |
dc.subject | Alzheimer's Disease | en_US |
dc.subject | ผู้สูงอายุ | th_TH |
dc.subject | Elderly | th_TH |
dc.subject | การบริการสุขภาพ (Health Service Delivery) | th_TH |
dc.title | ประโยชน์ของการตรวจเพทสแกนด้วย [F-18] Florbetapir ([F-18]-AV-45) เพื่อประเมินการสะสมของ amyloid ในสมองในผู้ป่วยสมองเสื่อมจากโรคอัลไซเมอร์, ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติเล็กน้อยของความสามารถของสมองและผู้สูงอายุปกติ (รายงานวิจัยปีที่ 2) | th_TH |
dc.title.alternative | The use of [F-18]Florbetapir ([F-18]-AV-45) PET to assess brain amyloid deposition in Alzheimer’s disease, mild cognitive impairment and normal aging | en_US |
dc.type | Technical Report | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Objectives To evaluate the use of [F-18]Florbrtapir PET scan in assessing brain amyloid deposition in Alzheimer’s disease, mild cognitive impairment and normal aging and the correlation between brain amyloid deposition in PET scan and results from neuropsychological test, MRI brain and [F-18]FDG PET scan. We also aimed to evaluate the correlation between [F-18]Florbetapir PET scan results and changes in neuropsychological test, MRI brain and [F-18]FDG PET scan results. Conclusion Our results found a significant, high correlation between all imaging techniques using [F-18]Florbetapir and clinical diagnosis and neuropsychological test results, which the highest correlation was detected with [F-18]FDG PET followed by [F-18]Florbetapir PET and MRI, respectively. There were also significant and high correlation amongst imaging techniques. However, correlation between baseline and changes of these imaging results with changes in clinical symptoms as well as neuropsychological performances are still needed to be followed. | en_US |
dc.identifier.callno | WM220 ธ454ป 2561 | |
dc.identifier.contactno | 60-065 | |
.custom.citation | ธัญญลักษณ์ เธียรธัญญกิจ, Tanyaluck Thientunyakit, วีรศักดิ์ เมืองไพศาล, Weerasak Muangpaisan, อรสา ชวาลภาฤทธิ์, Orasa Chawalparit, รุจพร ชนะชัย, Rujaporn Chanachai, จักรมีเดช เศรษฐนันท์, Chakmeedaj Sethanandha, ยุทธพล วิเชียรอินทร์, Yudthaphon Vichianin, กันตรัตน์ อรุณรุ่งวิเชียร and Kuntarat Arunrungvichian. "ประโยชน์ของการตรวจเพทสแกนด้วย [F-18] Florbetapir ([F-18]-AV-45) เพื่อประเมินการสะสมของ amyloid ในสมองในผู้ป่วยสมองเสื่อมจากโรคอัลไซเมอร์, ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติเล็กน้อยของความสามารถของสมองและผู้สูงอายุปกติ (รายงานวิจัยปีที่ 2)." 2561. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5028">http://hdl.handle.net/11228/5028</a>. | |
.custom.total_download | 26 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 1 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 0 | |