แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การปฏิรูปความมั่นคงด้านยาและเวชภัณฑ์ของประเทศไทย

dc.contributor.authorวินิต อัศวกิจวิรีth_TH
dc.contributor.authorVinit Usavakidvireeen_US
dc.contributor.authorชะอรสิน สุขศรีวงศ์th_TH
dc.contributor.authorCha-oncin Sooksriwongen_US
dc.contributor.authorฟ้าใส จันท์จารุภรณ์th_TH
dc.contributor.authorFarsai Chanjarupornen_US
dc.contributor.authorวราวุธ เสริมสินสิริth_TH
dc.contributor.authorVaravoot Sermsinsirien_US
dc.contributor.authorคัคนางค์ โตสงวนth_TH
dc.contributor.authorKakanang Tosanguanen_US
dc.date.accessioned2019-05-01T04:11:24Z
dc.date.available2019-05-01T04:11:24Z
dc.date.issued2562-04
dc.identifier.otherhs2487
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5049
dc.description.abstractประเทศไทยยังขาดระบบการบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ในภาวะฉุกเฉินที่มีประสิทธิภาพและต้องพึ่งพาการนำเข้าจากต่างประเทศและมีแนวโน้มที่สูงขึ้น พึ่งพาตนเองได้น้อย ดังนั้นงานวิจัยชิ้นนี้จึงมีวัตถุประสงค์ เพื่อเสนอแนะแนวทางการปฏิรูปการบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ของประเทศที่เหมาะสม ทั้งในสภาวะปกติและในสถานการณ์ฉุกเฉิน โดยที่งานวิจัยชิ้นนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลโดยใช้กระบวนการจัดสนทนากลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ทบทวนวรรณกรรมทั้งในและต่างประเทศ การสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้เชี่ยวชาญและการทำเทคนิคเดลฟายเพื่อรวบรวมความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญและหาข้อสรุปร่วมกัน ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่า การปฏิรูประบบให้เกิดความมั่งคงด้านยาและเวชภัณฑ์ จะต้องปฏิรูปประเด็นสำคัญ ดังนี้ 1) ปฏิรูประบบบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ในสถานการณ์ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขด้วยการจัดทำแผนแม่บทแห่งชาติและให้กองสาธารณสุขฉุกเฉิน สำนักงานปลัดประทรวงสาธารณสุข เป็นหน่วยงานประสานกลาง บูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นๆ ที่มีการสำรองยาและเวชภัณฑ์ ให้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นหน่วยงานรับผิดชอบหลักในการปฏิรูประบบสารสนเทศด้านการบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ในสถานการณ์ฉุกเฉินให้มีประสิทธิภาพ การจัดทำกรอบรายการยาและเวชภัณฑ์ รูปแบบการสำรอง โดยใช้เทคนิคการวางแผนด้วยสถานการณ์ (Scenario Planning) รองรับภัยพิบัติที่มีความรุนแรงในระดับสูงขึ้นและมีโอกาสเกิด รวมทั้งการพัฒนากฎหมายฉบับใหม่ขึ้นมาเป็นการเฉพาะ เพื่อลดอุปสรรคในการบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ในสถานการณ์ฉุกเฉิน 2) ปฏิรูปการพึ่งพาตนเองด้านยาและเวชภัณฑ์ ด้วยการปรับโครงสร้างและบทบาทของหน่วยงานหรือองค์กรอิสระที่รับผิดชอบในการขับเคลื่อนการพัฒนาอุตสาหกรรมยาและเวชภัณฑ์ที่มีอยู่ ให้มีบทบาทภารกิจที่มีความจำเพาะด้านยาและเวชภัณฑ์ รวมทั้งดำเนินมาตรการอย่างครบวงจรตลอดห่วงโซ่อุปทาน นอกจากนั้น ต้องปรับเปลี่ยนระบบการบริหารงบประมาณและการสร้างเอกภาพในการทำงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ปรับลดขอบเขตของสิทธิผูกขาดการจำหน่ายขององค์การเภสัชกรรมและหน่วยงานของรัฐ ให้มีความเป็นธรรมต่อผู้ผลิตภาคเอกชนมากขึ้น รวมทั้งเพิ่มการสนับสนุนภาคอุตสาหกรรมยาและเวชภัณฑ์ ในด้านงบประมาณที่จะใช้ในการลงทุนเพื่อการวิจัยพัฒนาและพัฒนากระบวนการผลิตth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectยาth_TH
dc.subjectDrugth_TH
dc.subjectเวชภัณฑ์th_TH
dc.subjectMedical suppliesth_TH
dc.subjectผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies)th_TH
dc.subjectภาวะผู้นำและการอภิบาล (Leadership and Governance)th_TH
dc.titleการปฏิรูปความมั่นคงด้านยาและเวชภัณฑ์ของประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeThe Reform of Thailand National Security of Drugs and Medical Suppliesen_US
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeAt present, the management of drugs and medical supplies in the emergency is not very efficient. In addition, Thailand very much relies on the importation of drugs and medical supplies in the normal circumstance. This research study aims to review and analyse the management situation of drugs and medical supplies and to propose the recommendations to reform the management of drugs and medical supplies for Thailand in emergency and at normal situation. This study was designed as a qualitative study. The data was collected using qualitative approaches including the literature review, focus group discussion with stakeholders, in-depth interview with experts and Delphi Technique. The study revealed that to reform the system towards the goal of drugs and medical supplies security in the emergency, the national master plan is needed. There is also a need to assign Division of Public Health Emergency Management (DPHEM), Office of the Permanent Secretary, Ministry of Public Health to be the focal body with the aim to integrate and cooperate with all other related agencies. The Information and Communication Technology Center should be assigned as the main responsible organization in the reform of the IT system. In addition, the study also indicated that the national list of drugs and medical supplies to be reserved, the quantity to reserve should be determined using the scenario planning technique. Moreover, a new law specific to the management of drugs and medical supplies in the emergency should be developed to enhance the efficiency of the management system. Regarding the self-reliant capability, the study indicated that the reform should first start with fast re-structuring of the existing organizations which are responsible for the improvement of drugs and medical supplies industry and reviewing of their roles and responsibilities to put special focus on drugs and medical supplies. The approaches to reform should be performed throughout the entire supply chain. Furthermore, it is really essential to change the budgeting system and unite the working mechanisms among related authorities. Reduction of selling privilege of the Government Pharmaceutical Organization and other organizations which have similar privilege, aiming to create equity and enable real market competition, is one of the main findings from this study. The government should also support the budget to drugs and medical supplies industry to facilitate more efforts and investment in research and development and production, To conclude, the government should place as much emphasis as possible on this reform. Extensive effort should be carried out to facilitate the system reform. The focal authority should be strengthened on every aspect thus the actual integration could be established and the security of drugs and medical supplies of Thailand could be expected.en_US
dc.identifier.callnoQV32 ว631ก 2562
dc.identifier.contactno60-084
.custom.citationวินิต อัศวกิจวิรี, Vinit Usavakidviree, ชะอรสิน สุขศรีวงศ์, Cha-oncin Sooksriwong, ฟ้าใส จันท์จารุภรณ์, Farsai Chanjaruporn, วราวุธ เสริมสินสิริ, Varavoot Sermsinsiri, คัคนางค์ โตสงวน and Kakanang Tosanguan. "การปฏิรูปความมั่นคงด้านยาและเวชภัณฑ์ของประเทศไทย." 2562. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5049">http://hdl.handle.net/11228/5049</a>.
.custom.total_download318
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month1
.custom.downloaded_this_year39
.custom.downloaded_fiscal_year5

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs2487.pdf
ขนาด: 3.004Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย