dc.contributor.author | กนกวรรณ ศรีสุภรกรกุล | th_TH |
dc.contributor.author | Kanokwan Srisupornkornkool | th_TH |
dc.contributor.author | ปราโมทย์ วาดเขียน | th_TH |
dc.contributor.author | Pramote Wardkein | th_TH |
dc.contributor.author | อรอุมา บุณยารมณ์ | th_TH |
dc.contributor.author | Onuma Boonyarom | th_TH |
dc.date.accessioned | 2019-06-11T07:00:49Z | |
dc.date.available | 2019-06-11T07:00:49Z | |
dc.date.issued | 2562-05 | |
dc.identifier.other | hs2494 | |
dc.identifier.uri | http://hdl.handle.net/11228/5059 | |
dc.description.abstract | การศึกษาวิจัยนี้เป็นการประดิษฐ์อุปกรณ์สำหรับประเมินการทรงตัวและให้ข้อมูลป้อนกลับ ปีที่ 2 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบประสิทธิภาพการใช้งานของอุปกรณ์ โดยการทดสอบความเชื่อมั่น (Reliability) ของอุปกรณ์ ในอาสาสมัครที่มีอายุอยู่ในช่วง 40-93 ปี จำนวน 42 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน 22 คน และผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีก จำนวน 20 คน ผลการศึกษาพบว่า อุปกรณ์มีค่าความเชื่อมั่นของค่าแรงสูงสุดในการลุกขึ้นยืนในการวัดซ้ำอยู่ในระดับสูงมากทั้ง plate 1 และ plate 2 (ICC (3,1) = 0.945 และ 0.978 ตามลำดับ, p<0.000) ในผู้สูงอายุ แต่ในผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีก พบว่า ค่าแรงสูงสุดในการลุกขึ้นยืนมีความเชื่อมั่นในการวัดซ้ำอยู่ในระดับสูงถึงสูงมาก (ICC (3,1) = 0.872 ที่ plate 1 และ 0.968 ที่ plate 2, p<0.000) สำหรับความเชื่อมั่นของศูนย์กลางแรงกดอยู่ในระดับปานกลางถึงสูง ทั้งในผู้สูงอายุและผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีก ดังนั้นสรุปได้ว่าอุปกรณ์นี้สามารถนำไปใช้วัดแรงในกิจกรรมการลุกขึ้นยืนได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่อย่างไรก็ตามความน่าเชื่อถือในการวัดจุดศูนย์กลางแรงกดอยู่ในระดับสูงถึงปานกลาง ซึ่งอาจจะต้องมีการพัฒนาต่อไปในเรื่องของการวัดการเปลี่ยนแปลงจุดศูนย์กลางแรงกดใต้ฝ่าเท้า | th_TH |
dc.description.sponsorship | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.rights | สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข | th_TH |
dc.subject | อุปกรณ์และเครื่องมือแพทย์ | th_TH |
dc.subject | ผู้สูงอายุ | th_TH |
dc.subject | Elderly | th_TH |
dc.subject | อัมพาตครึ่งซีก | th_TH |
dc.subject | Hemiplegia | th_TH |
dc.subject | ผลิตภัณฑ์ วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Medical Products, Vaccines and Technologies) | th_TH |
dc.title | การประดิษฐ์อุปกรณ์สำหรับประเมินความสามารถในการทรงตัวและให้ข้อมูลป้อนกลับ (ปีที่ 2) | th_TH |
dc.title.alternative | Invention of an Instrument for Balance Assessment and Feedback (2nd year) | th_TH |
dc.type | Technical Report | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The present study was invention of an instrument for balance assessment and feedback in second year. The purpose of this research was to test the efficiency of the instrument by testing reliability. Forty-two participations, aged range 40-93 years, were recruited into this study. Participants were divided into two groups, including aging group (n=22) and people with stroke group (n=20). The finding showed that reliability of force measurement was very high for both plates (ICC (3,1) = 0.945 for plate 1 and 0.978 for plate 2, p<0.000) in aging group, while reliability of force measurement in people with stroke group was between high and very high (ICC (3,1) = 0.872 for plate 1 and 0.968 for plate 2, p<0.000). Reliability of center of pressure was between middle and high in both groups. In conclusion, the instrument was able to measure force efficiently. However, this instrument should be developed in order to increase effectiveness of measuring center of pressure. | th_TH |
dc.identifier.callno | QT34 ก125ก 2562 | |
dc.identifier.contactno | 61-020 | |
.custom.citation | กนกวรรณ ศรีสุภรกรกุล, Kanokwan Srisupornkornkool, ปราโมทย์ วาดเขียน, Pramote Wardkein, อรอุมา บุณยารมณ์ and Onuma Boonyarom. "การประดิษฐ์อุปกรณ์สำหรับประเมินความสามารถในการทรงตัวและให้ข้อมูลป้อนกลับ (ปีที่ 2)." 2562. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5059">http://hdl.handle.net/11228/5059</a>. | |
.custom.total_download | 51 | |
.custom.downloaded_today | 0 | |
.custom.downloaded_this_month | 0 | |
.custom.downloaded_this_year | 4 | |
.custom.downloaded_fiscal_year | 0 | |