Show simple item record

Development of Integrated Care Model for Children with Attention Deficit Hyperactivity Disorder among Health Care Professionals, Parents, and Teachers (Year2)

dc.contributor.authorสมัย ศิริทองถาวรth_TH
dc.contributor.authorSamai Sirithongthawornen_EN
dc.contributor.authorรัชนี ฉลองเกื้อกูลth_TH
dc.contributor.authorRachanee Chalongkuakulen_EN
dc.contributor.authorมธุรดา สุวรรณโพธิ์th_TH
dc.contributor.authorMathurada Suwannaphoen_EN
dc.contributor.authorวิมลรัตน์ วันเพ็ญth_TH
dc.contributor.authorWimonrat Wanpenen_EN
dc.contributor.authorเพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์th_TH
dc.contributor.authorPenkarn Kanjanaraten_EN
dc.contributor.authorภิญโญ อิสรพงศ์th_TH
dc.contributor.authorPinyo Itsarapongen_EN
dc.date.accessioned2019-09-06T04:55:01Z
dc.date.available2019-09-06T04:55:01Z
dc.date.issued2562-03
dc.identifier.otherhs2513
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5103
dc.description.abstractการบูรณาการการดูแลระหว่างผู้ปกครองครูและผู้ให้บริการด้านการดูแลสุขภาพเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการรักษาเด็กที่มีภาวะซนสมาธิสั้นให้ประสบความสำเร็จ อย่างไรก็ตาม ผู้ปกครอง ครูและผู้ให้บริการทางการแพทย์มีแลกเปลี่ยนข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการดูแลเด็กโรคสมาธิสั้นน้อยและขาดเครื่องมือที่เป็นนวัตกรรมเพื่อสนับสนุนการดูแลแบบบูรณาการดังกล่าว การใช้เครื่องมือบนมือถือ (Mobile Health, mHealth) อาจช่วยเชื่อมโยงการดูแลระหว่างผู้ปกครอง ครูและผู้ให้บริการทางการแพทย์ ช่วยให้มีการสื่อสารข้อมูลที่จำเป็น รวมทั้งเป็นแหล่งข้อมูลความรู้ที่เชื่อถือได้ในการดูแลเด็กโรคสมาธิสั้นADHD ต่อผลด้านการควบคุมอาการของโรคสมาธิสั้นและลดความเครียดของผู้ปกครองและครู วิธีการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาประกอบด้วยเด็กที่ได้รับการวินิจฉัยด้วยโรคสมาธิสั้น จำนวน 41 คนและผู้ปกครอง 41 คน จากสถาบันพัฒนาการเด็กระดับตติยภูมิ, ครู 41 คน และผู้ให้บริการด้านสุขภาพ 5 คน กลุ่มตัวอย่างได้รับการสุ่มไปยังสามกลุ่มต่อไปนี้: (1) กลุ่มศึกษาที่ผู้ปกครองและครูได้รับการฝึกอบรมให้ใช้ ADHD Care Model (IACM) ร่วมกับ Application ADHD บนมือถือ (AA); (2) กลุ่มควบคุมที่ผู้ปกครองและครูได้รับการฝึกอบรมให้ใช้ IACM หรือ (3) กลุ่มควบคุมที่ผู้เข้าร่วมได้รับการดูแลแบบปกติ (UC) วัดผลการวิจัยด้วยอาการของโรคสมาธิสั้น ประเมินโดยผู้ปกครองและครูด้วยแบบประเมิน SNAP-IV และความเครียดของผู้ปกครองและครูโดยใช้เครื่องมือวัดระดับความเครียด SPST-20 โดยการบันทึกข้อมูล ณ จุดเริ่มต้นการวิจัยเดือนที่ 1, 2 และ 3 ผลการวิจัย: เด็กในกลุ่มที่ใช้การดูแลแบบ IACM + AA มีคะแนน SNAP-IV ณ เดือนที่ 3 ต่ำกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ (p<.05) นอกจากนี้พบว่าคะแนนความเครียดของผู้ปกครองและครูในกลุ่ม IACM + AA และกลุ่ม IACM ต่ำกว่ากลุ่ม UC อย่างมีนัยสำคัญ ณ เดือนที่ 3 (p<.05) แต่ไม่พบความแตกต่างระหว่างกลุ่ม IACM + AA และกลุ่ม IACM สรุป: การศึกษานี้สนับสนุนความเป็นไปได้ของการใช้ Application ADHD ร่วมกับแนวทางการดูแลเด็กโรคสมาธิสั้นแบบบูรณาการระหว่าง ผู้ปกครอง ครู และบุคลากรทางการแพทย์ ในการดูแลเด็กโรคสมาธิสั้น เพื่อผลลัพธ์ด้านการลดอาการของโรคสมาธิสั้นและลดความเครียดของผู้ปกครองและครูth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.subjectเด็กสมาธิสั้น--การรักษาth_TH
dc.subjectเด็กสมาธิสั้น--การดูแลth_TH
dc.subjectเด็กสมาธิสั้นth_TH
dc.subjectAttention-Deficit Hyperactivity Disorderen_EN
dc.titleการพัฒนารูปแบบการดูแลเด็กโรคสมาธิสั้นแบบบูรณาการระหว่างบุคลากรทางการแพทย์ ผู้ปกครอง และครู (ปีที่ 2)th_TH
dc.title.alternativeDevelopment of Integrated Care Model for Children with Attention Deficit Hyperactivity Disorder among Health Care Professionals, Parents, and Teachers (Year2)en_EN
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeBackground: Integration of care among parents, teachers, and healthcare providers is crucial for successful treatment of children with ADHD. However, parents, teachers, and healthcare providers share limited data on caring ADHD children and lack of innovative tools to support the integration of care among. A mobile health (mHealth) approach may bridge the gap among parents, teachers, and healthcare providers, allowing communications with necessary information as well as ADHD source of reliable informationto improve ADHD symptoms and reduce stress of parents and teachers. Method: The study sample included 41 children with ADHD and 41 parents from a tertiary care child development hospital, 41 teachers, and 5 healthcare providers of the children. Participants were randomly assigned to one of the following three groups: (1) a study group in which the parents, teachers were trained to use the Integrated ADHD Care Model (IACM) with the Application ADHD on mobile (AA); (2) a control group in which the parents and teachers were trained to use IACM; or to (3) a control group in which participants were treated with usual care (UC). ADHD symptoms assessed by parents and teachers using the SNAP-IV rating scale and stress of parents and teachers were rated usingthe SPST-20 were recorded at baseline, month 1, 2, and 3. Results: Participants who used IACM+AA demonstrated lower ADHD symptom score over 3- month period compared with usual care (p<.05). In addition, a significant improvement in stress scores in parents and teachers were found among the IACM+AA group and IACM group compared to UC group in 3 months (p<.05). No significant difference of stress scores was found between IACM+AA and IACM groups. Conclusions: The current study provides support for the feasibility of a new mobile app in supporting care for children with ADHDto improve ADHD symptoms and reduce stress of parents and teachers.en_EN
dc.identifier.callnoWS350.8 ส292ก 2562
dc.identifier.contactno60-097
.custom.citationสมัย ศิริทองถาวร, Samai Sirithongthaworn, รัชนี ฉลองเกื้อกูล, Rachanee Chalongkuakul, มธุรดา สุวรรณโพธิ์, Mathurada Suwannapho, วิมลรัตน์ วันเพ็ญ, Wimonrat Wanpen, เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์, Penkarn Kanjanarat, ภิญโญ อิสรพงศ์ and Pinyo Itsarapong. "การพัฒนารูปแบบการดูแลเด็กโรคสมาธิสั้นแบบบูรณาการระหว่างบุคลากรทางการแพทย์ ผู้ปกครอง และครู (ปีที่ 2)." 2562. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5103">http://hdl.handle.net/11228/5103</a>.
.custom.total_download146
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year9
.custom.downloaded_fiscal_year0

Fulltext
Icon
Name: hs2513.pdf
Size: 2.669Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record