แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย

การประเมินความคุ้มค่าของบริการป้องกันการติดเชื้อ HIV ก่อนการสัมผัสเชื้อ

dc.contributor.authorรุ่งนภา คำผางth_TH
dc.contributor.authorRoongnapa Khampangen_US
dc.contributor.authorดนัย ชินคำth_TH
dc.contributor.authorDanai Chinnacomen_US
dc.contributor.authorศุภวรรธน์ เพิ่มผลสุขth_TH
dc.contributor.authorSuppawat Permpolsuken_US
dc.contributor.authorดิศรณ์ กุลโภคินth_TH
dc.contributor.authorDisorn Kulpokinen_US
dc.date.accessioned2019-09-19T03:06:12Z
dc.date.available2019-09-19T03:06:12Z
dc.date.issued2562-06
dc.identifier.otherhs2509
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5106
dc.description.abstractบริการป้องกันการติดเชื้อ HIV ก่อนการสัมผัสเชื้อ (Pre-Exposure Prophylaxis ; PrEP) เป็นหนึ่งในมาตรการป้องกันการติดเชื้อ HIV ในกลุ่มประชากรหลักที่เป็นกลุ่มเสี่ยงสูงของการติดเชื้อ เช่น กลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชายและหญิงข้ามเพศ กลุ่มผู้ใช้สารเสพติดด้วยวิธีการฉีดและกลุ่มคู่เพศสัมพันธ์ที่มีผลเลือดต่าง ในปัจจุบันประเทศไทยมีการให้บริการ PrEP ผ่านโครงการนำร่องหรือดำเนินการเฉพาะในบางพื้นที่เท่านั้น ซึ่งโครงการดังกล่าวได้รับการสนับสนุนหลักจากหน่วยงานต่างประเทศ นอกจากนี้บริการดังกล่าวยังไม่ถูกบรรจุในชุดสิทธิประโยชน์ของสิทธิการรักษาใด เพื่อให้การป้องกันการติดเชื้อ HIV มีประสิทธิภาพมากขึ้นและสามารถยุติปัญหาเอดส์ได้ภายในปี พ.ศ. 2573 กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข จึงเสนอบริการดังกล่าวให้บรรจุในสิทธิประโยชน์ภายใต้หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยหัวข้อดังกล่าวได้รับการคัดเลือกเพื่อประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพโดยการประเมินความคุ้มค่าทางสาธารณสุขและประเมินผลกระทบด้านงบประมาณ โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ (HITAP) ได้รับมอบหมายจากคณะอนุกรรมการกำหนดประเภทและขอบเขตในการให้บริการสาธารณสุขที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ให้เป็นผู้ดำเนินการศึกษา การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการให้บริการ PrEP ที่ครอบคลุมทั้งยาต้านไวรัส Tenofovir Disoproxil Fumarate (TDF) ร่วมกับ Emtricitabine (FTC) และการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาบรรจุบริการดังกล่าวในชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectHIVth_TH
dc.subjectAIDSth_TH
dc.subjectเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขth_TH
dc.subjectCost-Benefit Analysisen_US
dc.subjectระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ (Health Systems Financing)th_TH
dc.titleการประเมินความคุ้มค่าของบริการป้องกันการติดเชื้อ HIV ก่อนการสัมผัสเชื้อth_TH
dc.title.alternativeEconomic evaluation of HIV Pre-Exposure Prophylaxisen_US
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativePre-Exposure Prophylaxis (PrEP) is one of the preventive measures for HIV infection in population with substantial risk such as Men who have Sex with Men (MSM), transgender women, people who inject drugs (PWID) and heterosexual HIV-1 sero-discordant couples. In Thailand, PrEP service has been supported by governmental bodies and private sectors, from both national and international levels. This service is run as a pilot programme and is available only in certain areas. It is also not included in any health coverage schemes. For more effective prevention against HIV as well as for keeping AIDs problems under control by 2030, the Department of Disease Control, Ministry of Public Health, had proposed an inclusion of such service into the Universal Health Coverage Benefit Package (UCBP). The service was selected for evaluation with health technology assessment, in which economic evaluation and budget impact analysis were conducted. Health Intervention Technology Assessment Programme (HITAP) was assigned from the subcommittee of Health Benefit Package, National Health Security Office, to conduct an economic evaluation of the PrEP service, which covers both Tenofovir Disoproxil Fumarate (TDF) and Emtricitabine (FTC), as well as related laboratory tests. The evaluation was performed in order to aid the decision making process of whether to include the aforementioned service into the UCBP.en_US
dc.identifier.callnoW74 ร623ก 2562
dc.identifier.contactno61-051
.custom.citationรุ่งนภา คำผาง, Roongnapa Khampang, ดนัย ชินคำ, Danai Chinnacom, ศุภวรรธน์ เพิ่มผลสุข, Suppawat Permpolsuk, ดิศรณ์ กุลโภคิน and Disorn Kulpokin. "การประเมินความคุ้มค่าของบริการป้องกันการติดเชื้อ HIV ก่อนการสัมผัสเชื้อ." 2562. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5106">http://hdl.handle.net/11228/5106</a>.
.custom.total_download158
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year19
.custom.downloaded_fiscal_year4

ฉบับเต็ม
Icon
ชื่อ: hs2509.pdf
ขนาด: 3.731Mb
รูปแบบ: PDF
 

ชิ้นงานนี้ปรากฎในคอลเล็คชั่นต่อไปนี้

แสดงรายการชิ้นงานแบบง่าย