Show simple item record

The Development of Interior Environment of Residential Building for Recovery of Older Persons with Depression

dc.contributor.authorนวลวรรณ ทวยเจริญth_TH
dc.contributor.authorNuanwan Tuaycharoenen_US
dc.contributor.authorจรรยา จันทรขันตีth_TH
dc.contributor.authorรภัสพิศา ธนสิษฐ์จำรูญth_TH
dc.date.accessioned2020-01-14T04:23:23Z
dc.date.available2020-01-14T04:23:23Z
dc.date.issued2563-01
dc.identifier.otherhs2528
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/11228/5143
dc.descriptionงานวิจัยภายใต้โครงการวิจัย เรื่อง การพัฒนาสภาพแวดล้อมภายในที่พักอาศัยเพื่อการฟื้นฟูผู้สูงอายุภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าth_TH
dc.description.abstractการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อมภายในที่พักอาศัยเพื่อการฟื้นฟูผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้า โดยการศึกษาประกอบด้วยขั้นตอนหลัก 3 ขั้นตอน ได้แก่ การศึกษาพฤติกรรมการใช้อาคาร อุปสรรคและข้อจำกัดทางกายภาพเดิมของที่พักอาศัยที่ส่งผลต่อการฟื้นฟูผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้า การศึกษาพัฒนารูปแบบของอาคารที่พักอาศัยและสิ่งอำนวยความสะดวกของผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้า และการศึกษาการฟื้นฟูอาการซึมเศร้าหลังการเข้าใช้สภาพแวดล้อมที่ได้ปรับปรุง โดยการศึกษาครั้งนี้ได้ทำการศึกษาในอาคาร 2 ประเภท ได้แก่ บ้านเดี่ยวและโรงพยาบาล และได้เสนอแนวทางการออกแบบอาคารที่พักอาศัยและสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้า ผลการศึกษาโดยภาพรวมแสดงให้เห็นถึงคุณลักษณะสภาพแวดล้อมภายในที่พักอาศัยที่เหมาะสมในการฟื้นฟูผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้า ในส่วนห้องตรวจของโรงพยาบาลกรณีศึกษาแสดงให้เห็นว่ายังไม่มีความเปลี่ยนแปลงอาการซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้าหลังการปรับปรุงสภาพแวดล้อมห้องตรวจตามผลวิจัยดังกล่าว แต่สภาพแวดล้อมดังกล่าวทำให้ผู้สูงอายุมีความเครียดและความวิตกกังวลลดลง และรู้สึกมีความพึงพอใจ มีสุขภาวะที่ดีกว่าและมีความรู้สึกสนใจต่อห้องตรวจดังกล่าวมากขึ้น อย่างไรก็ตามผลการศึกษาการฟื้นฟูอาการซึมเศร้าหลังการเข้าใช้สภาพแวดล้อมกรณีศึกษาที่ได้ปรับปรุงแสดงให้เห็นว่าผู้สูงอายุมีอาการซึมเศร้าลดลงเมื่อได้มีการปรับปรุงบ้านดังกล่าวจากผลวิจัย และยังทำให้ผู้สูงอายุมีความวิตกกังวลลดลง รู้สึกมีสุขภาวะที่ดีกว่าและมีความรู้สึกสนใจในบ้านดังกล่าวมากขึ้นth_TH
dc.description.sponsorshipสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.rightsสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขth_TH
dc.subjectความซึมเศร้าในผู้สูงอายุth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุth_TH
dc.subjectElderlyth_TH
dc.subjectผู้สูงอาย--ที่อยู่อาศัยth_TH
dc.subjectผู้สูงอายุ--การดูแลth_TH
dc.subjectการบริการสุขภาพ (Health Service Delivery)th_TH
dc.titleการพัฒนาสภาพแวดล้อมภายในที่พักอาศัยเพื่อการฟื้นฟูผู้สูงอายุภาวะซึมเศร้าth_TH
dc.title.alternativeThe Development of Interior Environment of Residential Building for Recovery of Older Persons with Depressionen_US
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.description.abstractalternativeThe main objective of this study is to develop interior environment of residential building suitable for recovery elderly with depression. There are three main steps for this study: 1) an investigation of behavior of using, obstacle and limitation of existing building affecting depression recovery in elderly; 2) a study of characteristics of the interior environment and facility suitable for recovery elderly with depression; 3) a study of post evaluation of depression symptom of elderly after environment modification according to the study results. The study explored in two types of residential building which are a private house and a hospital. This study, also, propose the design guideline of residential building and facilities for elderly with depression. Results of the study shows appropriate interior characteristics of residential building suitable for recovery elderly with dementia. The results in the last section showed that depression symptom is not different, when using in examination room which environment was modified by results of this study. But, the modified examination room could make the subject less anxious, more preferred, and led subject feel better well-being and more interested in the examination room. However, the results in the last section illustrated that depression symptom of subject is reduced, when living in house that environment was modified by results of this study. The modified house made the subject less stressful, less anxious, more preferred, and led subject feel better well-being and more interested in the house.en_US
dc.identifier.callnoWT27 น341ก 2563
dc.identifier.contactno61-029
.custom.citationนวลวรรณ ทวยเจริญ, Nuanwan Tuaycharoen, จรรยา จันทรขันตี and รภัสพิศา ธนสิษฐ์จำรูญ. "การพัฒนาสภาพแวดล้อมภายในที่พักอาศัยเพื่อการฟื้นฟูผู้สูงอายุภาวะซึมเศร้า." 2563. <a href="http://hdl.handle.net/11228/5143">http://hdl.handle.net/11228/5143</a>.
.custom.total_download150
.custom.downloaded_today0
.custom.downloaded_this_month0
.custom.downloaded_this_year26
.custom.downloaded_fiscal_year3

Fulltext
Icon
Name: hs2528.pdf
Size: 14.36Mb
Format: PDF
 

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record